ทูนก้านดำ ก้านใบนำมาปอกหรือลอกเปลือกออก รับประทานเป็นผักหรือนำไปปรุงอาหาร

ทูนก้านดำ

ชื่ออื่นๆ : ทูนดำ, ทูนแหล่,  บอนดำ, ออกดิบดำ, โวนดำ, คูน, ตูนก้านดำ

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : –

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Colocasia sp

ชื่อวงศ์ : ARACEAE

ลักษณะของทูนก้านดำ

ต้น ลักษณะของลำต้นคล้ายกับเผือก เป็นไม้ล้มลุกหลายปีมีเหง้าใต้ดิน

ใบ ใบแทงออกจากหัวก้านใบยาว ใบสีเขียวเข้มกว่าทูนขาวและก้านใบสีม่วง ใบเป็นรูปหอกมนรี

ดอก ช่อดอกเป็นแท่งเดี่ยวๆ ดอกย่อยแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน ฉ่ำน้ำผลสดสีเขียว

ต้นทูนก้านดำ
ต้นทูนก้านดำ มีเหง้าใต้ดิน
ใบทูนก้านดำ
ใบทูนก้านดำ ใบเป็นรูปหอกมนรี

การขยายพันธุ์ของทูนก้านดำ

แยกเหง้าหรือหน่อ

ธาตุอาหารหลักที่ทูนก้านดำต้องการ

ประโยชน์ของทูนก้านดำ

ก้านใบนำมาปอกหรือลอกเปลือกออก ก่อนนำไปรับประทานเป็นผักสดหรือนำไปปรุงอาหารเช่น แกงส้ม แกงกะทิ

ทูนก้านดำ
ทูนก้านดำ ก้านใบสีม่วง

สรรพคุณทางยาของทูนก้านดำ

  • ก้าน นำมาพันใส่แผลเวลาถูกของมีคมบาด
  • หัวใต้ดิน นำมาต้มดื่มแก้พิษไข้

คุณค่าทางโภชนาการของทูนก้านดำ

การแปรรูปของทูนก้านดำ

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9931&SystemType=BEDO
http://www.pharmacy.msu.ac.th
https://www.flickr.com

Add a Comment