กล้วยไข่โบราณ พันธุ์กล้วย ผลเหมือนกล้วยไข่แต่เปลือกหนากว่าปลายผลมีจุกขนาดเล็ก

กล้วยไข่โบราณ

ชื่ออื่นๆ : กล้วยไข่โบราณ

ต้นกำเนิด : พบมากในจังหวัดจังหวัดตราด, จังหวัดจันทบุรี

ชื่อสามัญ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa (AAB group) “Kluai Khai Boran”

ชื่อวงศ์ : MUSACEAE

ลักษณะของกล้วยไข่โบราณ

ต้น ลำต้นสูง 2.5 – 3.0 เมตร กาบลำต้นด้านนอก มีสีเขียวอมแดง มีประดำ ด้านในมีสีแดงเล็กน้อย

ใบ  ก้านใบมีสีชมพูอมแดง ก้านใบผอม ร่องก้านใบเปิด

ดอก  ปลีเป็นทรงกระบอกยาวเรียว สีแดงอมม่วง เมื่อกาบปลีเปิดจะม้วนงอขึ้น

ผล  เครือหนึ่งมี 5 – 8 หวี หวีหนึ่งมี 10 – 15 ผล ผลเหมือนกล้วยไข่แต่เปลือกหนากว่าปลายผลมีจุกขนาดเล็ก เมื่อสุกมีสีเหลืองสด เนื้อสีส้ม แน่นเหนียวรสหวานมัน

ต้นกล้วยไข่โบราณ
ต้นกล้วยไข่โบราณ กาบลำต้นด้านนอก มีสีเขียวอมแดง มีประดำ

 

ปลีกล้วยไข่โบราณ
ปลีกล้วยไข่โบราณ ปลีเป็นทรงกระบอกยาวเรียว สีแดงอมม่วง

การขยายพันธุ์ของกล้วยไข่โบราณ

การแยกหน่อ

การปลูก ขุดหลุมขนาด 30x30x30 เซนติเมตร วางหน่อลงปลูกกลางหลุม กลบดินโดยรอบให้แน่น หลังปลูก 1 เดือนให้ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จากนั้นให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับปุ๋ยอินทรีย์ทุก 3 เดือน

ธาตุอาหารหลักที่กล้วยไข่โบราณต้องการ

ประโยชน์ของกล้วยไข่โบราณ

  • ผลสุกรับประทาน
ผลกล้วยไข่โบราณ
ผลกล้วยไข่โบราณ ผลเหมือนกล้วยไข่แต่เปลือกหนากว่าปลายผลมีจุกขนาดเล็ก

สรรพคุณทางยาของกล้วยไข่โบราณ

สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ *สรรพคุณของกล้วย*

คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยไข่โบราณ

การแปรรูปของกล้วยไข่โบราณ

สามารถติดตามความรู้เเกี่ยวกับเรื่องกล้วย การปลูกกล้วย พันธุ์กล้วย เพิ่มเติมได้ที่ เกษตรตำบล.คอม

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.thaibiodiversity.org
ภาพประกอบ : www.bloggang.com

One Comment

Add a Comment