กาต๋ง หรือ มังคะ เปลือกและใบมีสรรพคุณทางยา

กาต๋ง

ชื่ออื่นๆ : กาต๋ง มะคาก (ภาตใต้) แตดลิง  แมงคะ (ตราด) มังคะ, พังคะ (กลาง)  พังค่า (ตรัง)

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : มังคะ

ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Cynometra iripa Kostel

ชื่อวงศ์ : Leguminosae-Caesalpinioideae

ลักษณะของกาต๋ง

ต้น ไม้พุ่มสูง 2-6 เมตร เรือนยอดแผ่กว้าง แตกกิ่งแขนงเรียวยาว ลำต้นสีเทาอมเขียว มีสีขาวแต้ม

ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงสลับ มีใบย่อย 1-2 คู่ รูปไข่ถึงรีหรือรุปขอขขนาน ขนาด1-4×2-9 ซม. แผ่นใบไม่สมมาตร ปลายใบเว้าตื้นๆหรือเป้นติ่งหนาม ฐานใบแหลม ขอบใบเรียว ใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.8-1.3 ซม.มีขนสั้นนุ่ม

ดอก อออกตามช่อใบเป้นช่อสั้นๆ แบบช่อกระจะ มีขนสั้นนุ่มปกคลุมหนาแน่น ก้านดอกย่อยยาว 0.4-0.6 ซม.มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ยาว 0.3-0.4 ซม. ปลายกลีบโค้งกลับ กลีบดอกยาว 0.3 ซม. สีขาว ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-เมษายน

ผล เป็นฝักขนาดเล็ก ยาว 1.2 ซม. ผิวย่นขรุขระ มีงอยด้านข้าง ออกผลช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม

ต้นมังคะ
ต้นมังคะ ไม้พุ่ม เรือนยอดแผ่กว้าง ใบเกลี้ยง

การขยายพันธุ์ของกาต๋ง

ต้นอ่อน เมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่กาต๋งต้องการ

ประโยชน์ของกาต๋ง

สรรพคุณทางยาของกาต๋ง

ใช้น้ำต้มเปลือกแก้บวมพอง น้ำต้มใบใช้ล้างแผลสด แผลเปื่อย ฝีหนอง น้ำต้มรากแก้ไขมาลาเลีย

คุณค่าทางโภชนาการของกาต๋ง

การแปรรูปของกาต๋ง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9456&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment