ต้นเท้ายายม่อม ใบเว้าลึกเป็นแฉกหลายแฉกคล้ายรูปฝ่ามือ

เท้ายายม่อม

ชื่ออื่นๆ : นางส่อน (นครราชสีมา)  กาซะลอง, จรดพระธรณี, ดอกคาน (ยะลา)  เท้ายายม่อม (ภาคกลาง, จันทบุรี)  เท้ายายม่อมป่า (อุบลราชธานี)  ปิ้งขม,ปิ้งหลวง (ภาคเหนือ)  พญารากเดียว (ภาคใต้)  พญาเล็งจ้อน, เล็งจ้อนใต้ (เชียงใหม่) พมพี (อุดรธานี)  พอกวอ (กะเหรี่ยง – กําแพงเพชร)  พินพี (เลย)  โพพิ่ง (ราชบุรี) ไม้เท้าฤๅษี (ภาคเหนือ, ภาคใต้); หญ้าลิ้นจ้อน (ประจวบคีรีขันธ์)

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : Fiji arrowroot, Polynesian arrowroot

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clerodendrum petasites S. Moore

ชื่อวงศ์ : VERBENACEAE

ลักษณะของเท้ายายม่อม

ต้น เท้ายายม่อมเป็นไม้พุ่มสูง 1 – 2 เมตร ลําต้นตั้งตรงบริเวณปลายกิ่งเป็นสันสี่เหลี่ยมลําต้นแก่สีน้้ำตาลอมเทา

ใบ  เป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนเป็นวงกลม ประกอบด้วยก้านใบที่แทงออกจากหัว ก้านใบมีลักษณะทรงกลม และตั้งตรง สีเขียวอ่อน สูงประมาณ 20-170 เซนติเมตร แผ่นใบมีขนาดใหญ่ กว้างประมาณ 50-70 เซนติเมตร ยาวประมาณ 80-120 เซนติเมตร ขอบใบเว้าลึกเป็นแฉกหลายแฉกคล้ายรูปฝ่ามือ ปลายแฉกเรียวแหลม

ดอก  ออกดอกเป็นช่อ มีก้านดอกหลักที่เป็นลำต้นเทียม ยาวประมาณ 100-170 เซนติเมตร ช่อดอกอยู่ปลายสุด มีดอกย่อยประมาณ 15-30 ดอก ระหว่างดอกย่อยมีใบประดับเป็นเส้นทรงกลมยาวสีดำหรือสีม่วงอมน้ำตาล ประมาณ 20-40 อัน/ช่อดอก แต่ละเส้นยาวประมาณ 10-20 เซนติเมตร ดอกย่อยมีลักษณะเป็นรูปกรวย คล้ายดอกรัก ถูกหุ้มด้วยกลีบเลี้ยงสีเขียวประด้วยสีดำ ด้านในเป็นกลีบดอก จำนวน 5 กลีบ มีสีเหลืองหรือสีเขียวอมม่วง ภายในมีเกสรตัวผู้ 6 อัน ปลายแผ่เป็นแผ่น ตรงกลางเป็นก้านเกสรเพศตัวเมีย ปลายเกสรแยกเป็น 3 แฉก ทั้งนี้ เท้ายายม่อมจะออกดอกในช่วงตุลาคม-มกราคม

ผล  ผลรูปทรงกลมเมื่อสุกสีดํามีกลีบเลี้ยงสีแดงติดอยู่ออกผลเดือนสิงหาคม-กันยายน

ต้นเท้ายายม่อม
ต้นเท้ายายม่อม ลําต้นตั้ง ใบปลายแฉกเรียวแหลม

การขยายพันธุ์ของเท้ายายม่อม

เพาะเมล็ด, แยกหน่อ

ธาตุอาหารหลักที่เท้ายายม่อมต้องการ

ประโยชน์ของกล้วยหอมทอง

ยอดอ่อนดอกอ่อน ลวกต้มรับประทานกับน้ำพริกหรือแกงส้ม รสขมเล็กน้อย

ดอกเท้ายายม่อม
ดอกเท้ายายม่อม ดอกเป็นช่อ เป็นรูปกรวย คล้ายดอกรัก

สรรพคุณทางยาของกล้วยหอมทอง

เหง้านำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาบำรุงร่างกาย บำรุงกำลัง

คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยหอมทอง

การแปรรูปของกล้วยหอมทอง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11049&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment