พันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

พันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

ชื่ออื่นๆ : หญ้าหนวดเสือ (ภาคเหนือ) เจ๊กจับกบ (ตราด) หญ้าหางงู (ภาคใต้) สี่บาทสารพัดพิษ (ภาคกลาง) เดือยงู พระอินทร์โปรย (ชุมพร)

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : –

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl

ชื่อวงศ์ : Verbenaceae

ลักษณะของพันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

ไม้ล้มลุกฤดูเดียว ลำต้น สูงถึง 1 เมตร กิ่งอ่อนรูปสี่เหลี่ยม ต้นแก่สีเทาแกมเขียว ใบ ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบตรงข้าม ก้านใบ ยาว 0.5-1 มิลลิเมตร ใบรูปไข่กลับหรือรูปรี โคนใบแหลม ปลายใบมน หรือมีติ่งแหลมเล็ก ขอบใบหยักห่างๆ ผิวใบมีขนสีขาวปกคลุมยาว 1-3 มิลลิเมตร ใบกว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 5-12 เซนติเมตร ก้านใบและใบอ่อนมีขนปกคลุม เส้นใบมีสีม่วงแกมเขียว ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ก้านช่อดอกยาว 15-40 เซนติเมตร ดอกย่อยฝังอยู่ในแอ่งก้านดอกช่อ แต่ละดอกมีใบประดับ 1 อันรูปสามเหลี่ยม ก้านดอกย่อยสั้นมาก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียว กลีบดอกติดกันเป็นหลอดปลายแยกเป็น 5 แฉก สีม่วง ผล ผลแห้ง รูปไข่ มีเมือกเหนียวสามารถติดขน ผิวหนังของสัตว์ได้ เส้นผ่าศูนย์กลางผล 1-2 มิลลิเมตร เมล็ดกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 มิลลิเมตร

พันงูเขียว
พันงูเขียว ผิวใบมีขนสีขาวปกคลุม ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง

การขยายพันธุ์ของพันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

ใช้ส่วนอื่นๆ/นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ : พบขึ้นตามพื้นที่เปิดหรือทุ่งหญ้า ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 600 เมตร ต่างประเทศพบในเขตร้อนทั่วไป

ธาตุอาหารหลักที่พันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือต้องการ

ประโยชน์ของพันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

ประโยชน์ : ทั้งต้นต้มน้ำดื่ม แก้ไข้ ขับเหงื่อและขับปัสสาวะ

สรรพคุณทางยาของพันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

ทั้งต้น ใช้รักษาโรคปวดข้อ โรคตาแดง โรคกระเพาะ โรคนิ่ว รักษาอาการอาเจียน ขับพยาธิ และใช้ต้นสด ตำพอกบริเวณแผลอักเสบ แผลเปื่อย ฝีและหนองได้ เปลือก ใช้รักษาอาการ ท้องเสียและโรคบิด

ใบ รักษาคออักเสบ โดยใช้ใบสดตำให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาล ใช้อม ใบทาถูนวดบริเวณที่ปวดเมื่อยและรักษาฝีหนอง

คุณค่าทางโภชนาการของพันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

การแปรรูปของพันงูเขียว เดือยงู พระอินทร์โปรย สารพัดพิษ สี่บาท หญ้าหางงู เจ๊กจับกบ ลังถึ่งดุ้ก หญ้าหนวดเสือ

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11717&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment