มะเขือขื่น ไม้พุ่มขนาดย่อม ผลดิบและสุก รับประทานสดจิ้มน้ำพริก

มะเขือขื่น

ชื่ออื่นๆ :มะเขือเปราะ มะเขือเสวย (ภาคกลาง) มะเขือขันคำ มะเขือคางกบ มะเขือดำ มะเขือแจ้ มะเขือจาน มะเขือแจ้ดิน (เหนือ) เขือพา เขือหิน (ใต้) มั่งคอเก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) มะเขือหืน (ภาคอีสาน)

ต้นกำเนิด : พบปลูกทั่วทุกภาคของประเทศไทย

ชื่อสามัญ : มะเขือขื่น

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum aculeatissimum Jacq.

ชื่อวงศ์ : Solanaceae

ลักษณะของมะเขือขื่น

มะเขือขื่นเป็นไม้พุ่มขนาดย่อม สูง 0.14-1 เมตร ต้นใบ กิ่งก้าน มีหนามแหลมสีม่วงดำ มีขนสั้นปกคลุมทั้งต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ มีหนามแหลมคมตั้งฉากตามเส้นกลางใบรูปไข่กว้าง 4-12 ซม. ยาว 4.5-18 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเว้าเข้าเป็นพูตื้นๆ ก้านใบยาว 1-10 ซม. ดอกช่อกระจุกสั้น ออกที่ซอกใบ ดอกย่อย 4-6 ดอก กลีบดอกสีม่วง

มะเขือขื่น
มีรูปร่างกลมแบนหรือรูปไข่ ผลสีเขียว มีรสขื่น

การขยายพันธุ์ของมะเขือขื่น

เพาะเมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่มะเขือขื่นต้องการ

ชอบดินที่มีการระบายน้ำดี และทนแล้งได้ดี

ประโยชน์ของมะเขือขื่น

ผลดิบและสุก รับประทานสดจิ้มน้ำพริก(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
ผล นำไปเป็นส่วนประกอบของอาหารประเภทต่างๆ เช่น น้ำพริก แกง ยำ(คนเมือง)

สรรพคุณทางยาของมะเขือขื่น

รากขับเสมหะ ทำให้น้ำลายแห้ง แก้ไขสันนิบาต แก้น้ำลายเหนียว แก้ไอ ทุ้งพิษไข้ แก้ไขที่มีพิษร้อน หรือปรุงเป็นยาอื่น แก้กามตายด้าน บำรุงกำหนัดลูก แก้เสมหะ แก้น้ำลายเหนียว แก้ไข้สันนิบาต

คุณค่าทางโภชนาการของมะเขือขื่น

การแปรรูปของมะเขือขื่น

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : https ://eherb.hrdi.or.th
http ://area-based.lpru.ac.th
http ://sathai.org

Add a Comment