ว่านแมงมุม หัวนำมาฝนแล้วพอกบริเวณที่โดนพิษแมลงมีพิษกัดต่อยหรือในบริเวณที่ถูกพิษ

ว่านแมงมุม

ชื่ออื่นๆ : ว่านแมงมุม

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cibotium barometz J.Sm

ชื่อวงศ์ : ZINGIBERACEAE

ลักษณะของว่านแมงมุม

ว่านแมงมุมให้นำส่วนของลำต้นใต้ดิน (หัว) ซึ่งมีลักษณะคล้ายแมงมุม เป็นกล้วยไม้ดิน เจริญเติบโตแบบ symbodial มีลำลูกกล้วยป้อมหรือมักเรียกว่าหัว ส่วนหัวมีข้อถี่ๆ ในลำหนึ่งหรือหัวหนึ่งจะมีใบอยู่ประมาณ 2-4 ใบ กล้วยไม้ดิน ใบหมากจะมีลำต้นแบบ creeping rhizome อยู่ใต้ดินซึ่งเจริญแบบซิมโพเดียม ลำลูกกล้วยจะโตจากลำต้นที่อยู่ใต้ดินโผล่ขี้นมาเหนือดินเป็นจุดกำเนิดของใบ

ส่วนใบ จะยาวและมีเส้นใบที่เป็นรอบพับจีบตามแนวยาวของใบ ฐานใบจะเป็นกาบใบรอบๆ ลำต้นและกาบใบจะเชื่อมติดกันอยู่ ตอนใบเล็กจะตั้งตรงขึ้นและมีร่อง เมื่อแก่ปลายใบเรียวแหลมและโค้งปลายย้อยห้อยลง

ช่อดอกจะเกิดทางด้านข้างของหัว ดอกเกิดที่ปลายช่อ ดอกบานจากด้านข้างจำนวน 10-3- ดอกต่อ 1 ช่อ ส่วนของกลีบเลี้งและกลีบดอกมีรูปร่างคล้ายๆ กัน และจะกางออกเกือบจะอยู่ในระนาบเดียวกัน ส่วนกลีบปากมักจะคอด ช่วงปลายกว้างออกและปลายมักจะหยักเว้า ส่วนโคนจะมีหูปากพับตั้งขึ้นทั้ง 2 ข้าง บางชนิดนั้นก็จะไม่มีหูปาก ปลายปากผายออกกว้างแล้วแต่ชนิด บางครั้งเว้าที่ปลาย ขึ้นอยู่กับชนิด เส้าเกสรที่โคนยาวโค้งเล็กน้อย กลุ่มเกษรมี  2 ชุดๆ ละ 4 กลุ่ม ในแต่ละกลุ่มรูปคล้ายกระบอก

ว่านแมงมุม
ว่านแมงมุม มีหัวอยู่ใต้ดิน ลักษณะคล้ายแมงมุม

การขยายพันธุ์ของว่านแมงมุม

ใช้หัว/เหง้า/หน่อ

ธาตุอาหารหลักที่ว่านแมงมุมต้องการ

ประโยชน์ของว่านแมงมุม

สรรพคุณทางยาของว่านแมงมุม

หัว นำมาฝนแล้วนำมาทาหรือพอก ไว้บริเวณที่โดนพิษแมลงมีพิษกัดต่อยหรือในบริเวณที่ถูกพิษ จะช่วยทำให้อาการเจ็บปวดบวม

คุณค่าทางโภชนาการของว่านแมงมุม

การแปรรูปของว่านแมงมุม

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9952&SystemType=BEDO
https://www.nanagarden.com

Add a Comment