สนมังกร ไม้ประดับ นิยมปลูกเป็นไม้ประธานในการจัดสวน

สนมังกร

ชื่ออื่นๆ : สนมังกร

ต้นกำเนิด : จีน มองโกเลียและญี่ปุ่น

ชื่อสามัญ :  Rain Tree East Indian Walnut, Monkey Pod

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Juniperus chinensis L.

ชื่อวงศ์ : CUPRESSACEAE

ลักษณะของสนมังกร

ไม้ต้น รูปกรวย สูง 4 เมตร เรือนยอดทึบรูปร่ม ปลายกิ่งห้อยลง ทรงพุ่มกว้าง 1 เมตร เปลือกเรียบสีน้ำตาลแดง เมื่อแก่จะแตกเป็นเส้น ใบเป็นเกร็ด ขนาดเล็กเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ละ 4 เกร็ด แผ่นใบล่างมีไขสีขาว  ดอกแยกเพศ ดอกตัวผู้มีกาบกลมขนาดเล็กเรียงซ้อนกันเป็นรูปไข่ สีน้ำตาล ยาวประมาณ 0.5 ซม. มีอับเรณูซ่อนอยู่ตามโคนกาบ ดอกตัวเมียออกเดี่ยว ตามปลายกิ่ง  ผลรูปไข่ กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1 ซม. เปลือกแข็ง แห้งแล้วแตก แยกเป็น 6 ส่วน เมล็ดเล็กสีน้ำตาลอ่อน มีปีก 2 ปีกยาวไม่เท่ากัน

ต้นสนมังกร
ต้นสนมังกร ไม้ต้น เรือนยอดทึบ ทรงพุ่ม

การขยายพันธุ์ของสนมังกร

การปักชำ

ธาตุอาหารหลักที่สนมังกรต้องการ

ขึ้นได้ดีในดินทั่วไป ความชื้นปานกลาง ชอบแสงเต็มวัน

ประโยชน์ของสนมังกร

นิยมปลูกเป็นไม้ประธานในการจัดสวน นิยมปลูกเป็นกลุ่ม 3 หรือ 5 ต้น ปลูกเป็นแนวถนน การดูแลไม่ควรรดน้ำทรงพุ่มเพราะจะแตกทรงพุ่มไม่สวย

ใบสนมังกร
ใบสนมังกร เป็นเกล็ด ขนาดเล็กเรียงซ้อนกันเป็นชั้น

สรรพคุณทางยาของสนมังกร

คุณค่าทางโภชนาการของสนมังกร

การแปรรูปของสนมังกร

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11278&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment