หนามคอง ไม้พุ่มรอเลื้อย มีหนามแหลมโค้งตามลำต้นและกิ่งก้าน

หนามคอง

ชื่ออื่นๆ : ตะครอง  หมากกะทันช้าง มะตันตง มะหมากมา  หมากมา หนามคอม หนามค้อม  หนามตะคอง  อังโกรง

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : ตะครอง  Zizphus

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zizphus cambodiana pierre

ชื่อวงศ์ : RHAMNACEAE

ลักษณะของหนามคอง

ไม้พุ่มรอเลื้อย สูงได้ถึง5เมตร มีหนามแหลมโค้งตามลำต้นและกิ่งก้าน
ใบเดี่ยวเรียงสลับใบรีหรือรูปไข่กว้าง2.5-5ซม.ยาว4-7ซม.ปลายใบแหลมหรือมนโคนใบมนแผ่นใบเรียบท้องใบมีขนตามเส้นใบเนื้อใบหนา
ดอกช่อออกเป็นกระจุกตามซอกใบดอกสีเหลืองอมเขียวกลีบดอกมีห้ากลีบรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมด้านนอกมีขน
ผลกลมผิวเรียบเนื้อผลแข็งเมล็ดเดี่ยว

หนามคอง
หนามคอง ใบเรียบท้องใบมีขนตามเส้นใบเนื้อใบหนา ผลกลมผิวเรียบ

การขยายพันธุ์ของหนามคอง

ใช้เมล็ด/-

ธาตุอาหารหลักที่หนามคองต้องการ

ประโยชน์ของหนามคอง

เป็นสมุนไพร ผลรับประทานได้แก้ปากเป็นแผล(จากการสัมภาษณ์และจัดประชุมเสวนาผู้รู้ในท้องถิ่น)

สรรพคุณทางยาของหนามคอง

ลำต้นหรือราก ผสมลำต้นกำลังช้างสาร ต้มน้ำดื่ม แก้ผิดกะบูน (ผิดสำแดง)

คุณค่าทางโภชนาการของหนามคอง

การแปรรูปของหนามคอง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9313&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment