หยาดน้ำค้าง พืชกินแมลง

หยาดน้ำค้าง

ชื่ออื่นๆ : หญ้าน้ำค้าง, จอกบ่วาย, กระดุมทอง, หมอกบ่วาย

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : Sundew, Drosera

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Drosera indica L.

ชื่อวงศ์ : DROSERACEAE

ลักษณะของหยาดน้ำค้าง

หยาดน้ำค้างเป็นพืชล้มลุกชั่วฤดู หยาดน้ำค้างเป็นพืชกินแมลง มีรูปแบบราบไปกับพื้นหรือแตกกิ่งก้านตั้งตรงกับพื้นดิน มีขนาดความสูง 1 ซม. ถึง 1 ม.ขึ้นอยู่กับชนิด ในชนิดที่มีรูปแบบลำต้นเลื้อยไต่สามารถยาวได้ถึง พืชสกุลนี้เชี่ยวชาญการดูดซึมสารอาหารจากเหยื่อเป็นพิเศษเพราะหยาดน้ำค้าง ขนาดเล็ก (โดยเฉพาะไนเตรทรีดักเตส) ที่ต้นไม้ทั่วไปใช้ดูดซึมสารประกอบไนโตรเจนในดิน หยาดน้ำค้างมีต่อมหนวดจับ ที่ปลายของหนวดมีสารคัดหลั่งเหนียวปกคลุมแผ่นใบ กลไกการจับและย่อยเหยื่อปกติใช้ต่อมสองชนิด ชนิดแรกคือต่อมมีก้านที่หลั่งเมือกรสหวานออกมาดึงดูดและดักจับแมลง และหลั่งเอนไซม์ออกมาเพื่อย่อยแมลงนั้น ชนิดที่สองคือต่อมไร้ก้านที่ดูดซึมสารอาหารที่ได้จากการย่อย (หยาดน้ำค้างบางชนิดไม่มีต่อมไร้ก้าน

ต้นหยดน้ำค้าง
ต้นหยดน้ำค้าง ลำต้นจะสั้น อ่อน และแนบไปกับพื้นดิน บมีรูปร่างมน

การขยายพันธุ์ของหยาดน้ำค้าง

ใช้เมล็ด

หยาดน้ำค้างหลายชนิดสืบพันธุ์ได้ด้วยตนเอง (ผสมในต้นเดียว) และบ่อยครั้งที่มีการผสมเรณูในดอกเดียวกัน ทำให้มีเมล็ดมากมาย เมล็ดสีดำเล็กๆจะเริ่มงอกเมื่อได้รับแสงและความชื้น ขณะที่เมล็ดของชนิดที่อยู่ในเขตอบอุ่นต้องการความเย็น, อากาศชื้น, เป็นตัวกระตุ้นในการงอก เมล็ดของหยาดน้ำค้างที่มีหัวต้องการความร้อน, ฤดูร้อนที่แห้ง ตามด้วยความเย็น, ฤดูหนาวที่เปียกชื้น สำหรับกระตุ้นให้เมล็ดงอก เมื่อรากอยู่ใกล้กับผิวดิน ใบแก่ที่สัมผัสกับดินอาจแตกหน่อเป็นต้นเล็กๆได้ หยาดน้ำค้างแคระจะสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเช่นกัน โดยใช้ใบที่คล้ายเกล็ด การกระจายพันธุ์ของหยาดน้ำค้างเกิดจากใบ, หัว หรือราก เท่าๆกับที่เกิดจากเมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่หยาดน้ำค้างต้องการ

ประโยชน์ของหยาดน้ำค้าง

  • ปลูกประดับ
  • สามารถเป็นรักษาอาการไอแห้งๆ หยาดน้ำค้างถูกใช้เป็นสารกระตุ้นกำหนัดและกระตุ้นหัวใจด้วยเช่นกัน
  • ใช้รักษาการไหม้จากแดดเผา ปวดฟัน และป้องกันเป็นกระ
  • ปัจจุบัน หยาดน้ำค้างยังคงใช้ในการรักษาอาการป่วยอย่างเช่น ไอ การติดเชื้อที่ปอด และ แผลในกระเพาะ

สรรพคุณทางยาของหยาดน้ำค้าง

ทั้งต้นใช้แก้กลากเกลื้อน ขับพยาธิและแก้ ตับอักเสบ

คุณค่าทางโภชนาการของหยาดน้ำค้าง

การแปรรูปของหยาดน้ำค้าง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10727&SystemType=BEDO
www.flickr.com

Add a Comment