ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดิน ไส้เดือนจะมีประโยชน์มากกว่ามีโทษต่อมนุษย์ โดยเฉพาะ
ไส้เดือนดินจะมีส่วนช่วยทำให้โครงสร้างของดินดีขึ้น โดยการชอนไชทำให้ดินร่วนซุย นี้ตรงนี้
คนเราจึง มองเห็นประโยชน์จากไส้เดือนจึงทำให้มีกลุ่มคนที่เพาะเลี้ยงไส้เดือนเพื่อทำการ
ขยายพันธุ์และขายมูลของไส้เดือนเพื่อนำเอาไปเพาะปลูกพืชผักผลไม้
มูลของไส้เดือนที่ได้นั้นมี
ประโยชน์ต่อพืชมากมายสามารถเป็นปุ๋ยให้กับต้นพืชได้โดยไม่ต้องใส่ปุ๋ย ในส่วนนี้กลุ่มของ
เกษตรกรจึงหันมาเลี้ยงไส้เดือนกันมากขึ้น
- 2.jpg
- (162.15 KiB) ดาวน์โหลดแล้ว 85 ครั้ง
ลักษณะรูปร่างของไส้เดือน
ลักษณะทั่วไปของไส้เดือนดินมีรูปร่างเป็นทรงกระบอกยาว ด้านหัวและท้ายเรียวแหลม
ความยาวลำตัวประมาณ 10 - 20 เซนติเมตร ผนังลำตัวชั้นนอกเป็นคิวติเคิลที่ปกคลุมด้วย
สารพวกโพลีแซคคาไรด์ เจลาติน และชั้นอีพิเดอร์มิส มีเซลล์ ต่อมต่างๆ ที่ทำหน้าที่สร้างน้ำเมือก
ทำให้ผิวลำตัวชุ่มชื้น
การเพาะเลี้ยงไส้เดือน

- 22.jpg (81.63 KiB) Viewed 9126 times
การเตรียมที่เลี้ยง
เราจะใช้กะละมังเป็นที่เลี้ยงไส้เดือนโดยเราจะทำกระเจาะรูที่ก้นกะละมังประมาณ10-20รูโดยประมาณ แล้วนำดินใส่
เข้าไปประมาณ3ส่วน4ของกะละมังแล้วนำไปวางไว้ในที่ร่มออกห่างจากแดด เพราะไส้เดือนไม่ชอบแสงแดด
แล้วหาอะไรก็ได้ปิดกะละมังให้มิดชิด
เพื่อป้องกันสัตว์ที่จะมีกินไส้เดือน
ดินที่เลี้ยงไส้เดือน
เราจะใช้มูลวัวที่ผ่านการทำให้เย็นแล้ว(คือการรดน้ำเพื่อระบายความร้อนในมูลวัว)
เมื่อเย็นแล้วนำไส้เดือนมาใส่ในกะละมังที่เตรียมไว้ (ควรพรมน้ำเมื่่อดินมีความแห้งเพื่อให้ดินมีความชื้นอยู่ตลอดเวลา)
การให้อาหาร
ใช้เศษผักสีเขียว และวัชพืช โรยไปตามหน้า (เมื่อหมดก็ให้อาหารใหม่เสมอ)
ปล่อยที่ไว้สักประมาณ20วันก็จะได้ มูลไส้เดือนทั้งกะละมัง(ขึ้นอยู่กับปริมาณไส้เดือนที่ใส่ลงไปและปริมาณดินที่ใช้เลี้ยง)
[b][size=200][color=#00BF00]ไส้เดือนดิน[/color][/size][/b]เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดิน ไส้เดือนจะมีประโยชน์มากกว่ามีโทษต่อมนุษย์ โดยเฉพาะ
ไส้เดือนดินจะมีส่วนช่วยทำให้โครงสร้างของดินดีขึ้น โดยการชอนไชทำให้ดินร่วนซุย นี้ตรงนี้
คนเราจึง มองเห็นประโยชน์จากไส้เดือนจึงทำให้มีกลุ่มคนที่เพาะเลี้ยงไส้เดือนเพื่อทำการ
ขยายพันธุ์และขายมูลของไส้เดือนเพื่อนำเอาไปเพาะปลูกพืชผักผลไม้ [url=https://www.kasettambon.com/webboard/viewtopic.php?f=2&t=763]มูลของไส้เดือนที่ได้นั้นมี
ประโยชน์[/url]ต่อพืชมากมายสามารถเป็นปุ๋ยให้กับต้นพืชได้โดยไม่ต้องใส่ปุ๋ย ในส่วนนี้กลุ่มของ
เกษตรกรจึงหันมาเลี้ยงไส้เดือนกันมากขึ้น
[attachment=1]2.jpg[/attachment]
[size=150][b][color=#00BF00]ลักษณะรูปร่างของไส้เดือน[/color][/b][/size]
ลักษณะทั่วไปของไส้เดือนดินมีรูปร่างเป็นทรงกระบอกยาว ด้านหัวและท้ายเรียวแหลม
ความยาวลำตัวประมาณ 10 - 20 เซนติเมตร ผนังลำตัวชั้นนอกเป็นคิวติเคิลที่ปกคลุมด้วย
สารพวกโพลีแซคคาไรด์ เจลาติน และชั้นอีพิเดอร์มิส มีเซลล์ ต่อมต่างๆ ที่ทำหน้าที่สร้างน้ำเมือก
ทำให้ผิวลำตัวชุ่มชื้น
[b][size=150][color=#00BF00]การเพาะเลี้ยงไส้เดือน[/color][/size][/b]
[attachment=0]22.jpg[/attachment]
[color=#00BF00][b]การเตรียมที่เลี้ยง[/b][/color]
เราจะใช้กะละมังเป็นที่เลี้ยงไส้เดือนโดยเราจะทำกระเจาะรูที่ก้นกะละมังประมาณ10-20รูโดยประมาณ แล้วนำดินใส่
เข้าไปประมาณ3ส่วน4ของกะละมังแล้วนำไปวางไว้ในที่ร่มออกห่างจากแดด เพราะไส้เดือนไม่ชอบแสงแดด
แล้วหาอะไรก็ได้ปิดกะละมังให้มิดชิด
เพื่อป้องกันสัตว์ที่จะมีกินไส้เดือน
[b][color=#00BF00]ดินที่เลี้ยงไส้เดือน[/color][/b]
เราจะใช้มูลวัวที่ผ่านการทำให้เย็นแล้ว(คือการรดน้ำเพื่อระบายความร้อนในมูลวัว)
เมื่อเย็นแล้วนำไส้เดือนมาใส่ในกะละมังที่เตรียมไว้ (ควรพรมน้ำเมื่่อดินมีความแห้งเพื่อให้ดินมีความชื้นอยู่ตลอดเวลา)
[b][color=#00BF00]การให้อาหาร[/color][/b]
ใช้เศษผักสีเขียว และวัชพืช โรยไปตามหน้า (เมื่อหมดก็ให้อาหารใหม่เสมอ)
ปล่อยที่ไว้สักประมาณ20วันก็จะได้ มูลไส้เดือนทั้งกะละมัง(ขึ้นอยู่กับปริมาณไส้เดือนที่ใส่ลงไปและปริมาณดินที่ใช้เลี้ยง)