ต้นใบชะมวง ปลูกต้นชะมวง ไว้หลังบ้าน เอามาโชว์ เพิ่งสูงแค่ฟุต
ต้นใบชะมวง ปลูกต้นชะมวง ไว้หลังบ้าน เอามาโชว์ เพิ่งสูงแค่ฟุต
ต้นใบชะมวง ปลูกต้นชะมวง ไว้หลังบ้าน เอามาโชว์ เพิ่งสูงแค่ฟุต
Re: ต้นใบชะมวง ปลูกต้นชะมวง ไว้หลังบ้าน เอามาโชว์ เพิ่งสูงแค
การนำมาปรุงอาหารทำได้หลายอย่าง
ส่วนที่เป็นผัก ยอดอ่อน
ฤดูกาล / รส ฤดูฝน-ออกผลฤดูหนาว / รสเปรี้ยว
การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ประโยชน์ทางยา ใบและผล-แก้ไข้ กัดฟอกเสมหะ
ลักษณะต้น ต้นชะมวง
ชะมวงเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูงประมาณ 10 เมตรลำต้นเกลี้ยงเละแตกกิ่งใบตอนบนของลำต้น เปลือกต้นสีดำน้ำตาลขรุขระ กิ่งย่อยผิวเรียบ ใบเป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือเขียวอมม่วงแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม (สีน้ำเงินเข้ม) ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน บริเวณปลายกิ่งมักแตกเป็น 1-3 ยอด ตัวใบค่อนข้างหนาและแข็งก้านใบสีเขียวและยาว 1.2-1.9 ซม.ตัวใบยาว 18-20 ซม. ขอบใบเรียบมีกลิ่นเล็กน้อย เส้นใบไม่ชัด แต่ด้านหลังของใบเห็นเส้นกลาง กลีบแข็งคล้ายดอกมะดัน สีนวลเหลือง มีกลิ่นหอมและออกจำนวนมาก ใหญ่ประมาณ 10-15 มิลลิเมตร ดอกออกตามกิ่ง ผลคล้ายมังคุด
ประโยชน์ทางยา
ใบและผลรสเปรี้ยว สรรพคุณ ระบายท้อง แก้ไข้ กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุพิการและใบผสมกับยาชนิดอื่นปรุงเป็นยาขับเลือดเสีย
ราก สรรพคุณแก้ไข้
ประโยชน์ทางอาหาร
ส่วนที่เป็นผัก/ฤดูกาล ยอดอ่อนรับประทานเป็นผัก ออกในฤดูฝน ส่วนลูกของชะมวงมีรสเปรี้ยว เป็นผลไม้ป่าที่รับประทานเล่น
ประโยชน์ต่อสุขภาพ
ยอดอ่อนและใบอ่อนของชะมวงรสเปรี้ยว ช่วยระบาย แกัด ฟอก้ไข้ กเสมหะ แก้ธาตุพิการ
ใบชะมวง 100 กรัม ให้พลังงานต่อร่างกาย 51 กิโลแคลอรี่ มีเส้นใย 3.2 กรัม แคลเซียม 27 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 13 มิลลิกรัม เหล็ก 1.1 มิลลิกรัม วิตามินเอ 7,333 IU วิตามินบีหนึ่ง 0.7 มิลลิกรัม ไนอาซิน 0.2 มิลลิกรัม วิตามินซี 29 มิลลิกรัม
การปรุงอาหาร
ชาวใต้และตะวันออกรับประทานชะมวง โดยนำมาปรุงอาหารให้สุกก่อน เช่น แกงหมูใบชะมวงแกงใบชะมวงกับเนื้อวัว และอาหารประเภทต้มส้ม (ต้มส้มปลาไหล ต้มส้มปลาแห้ง)เป็นต้น ส่วนชาวอีสานจะนำยอดอ่อนของใบชะมวงใส่แกงอ่อมหรืออาจรับประทานเป็นผักสดร่วมกับป่นแจ่ว
ที่มา: page bansuanporpeang.com
ส่วนที่เป็นผัก ยอดอ่อน
ฤดูกาล / รส ฤดูฝน-ออกผลฤดูหนาว / รสเปรี้ยว
การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ประโยชน์ทางยา ใบและผล-แก้ไข้ กัดฟอกเสมหะ
ลักษณะต้น ต้นชะมวง
ชะมวงเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูงประมาณ 10 เมตรลำต้นเกลี้ยงเละแตกกิ่งใบตอนบนของลำต้น เปลือกต้นสีดำน้ำตาลขรุขระ กิ่งย่อยผิวเรียบ ใบเป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือเขียวอมม่วงแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม (สีน้ำเงินเข้ม) ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน บริเวณปลายกิ่งมักแตกเป็น 1-3 ยอด ตัวใบค่อนข้างหนาและแข็งก้านใบสีเขียวและยาว 1.2-1.9 ซม.ตัวใบยาว 18-20 ซม. ขอบใบเรียบมีกลิ่นเล็กน้อย เส้นใบไม่ชัด แต่ด้านหลังของใบเห็นเส้นกลาง กลีบแข็งคล้ายดอกมะดัน สีนวลเหลือง มีกลิ่นหอมและออกจำนวนมาก ใหญ่ประมาณ 10-15 มิลลิเมตร ดอกออกตามกิ่ง ผลคล้ายมังคุด
ประโยชน์ทางยา
ใบและผลรสเปรี้ยว สรรพคุณ ระบายท้อง แก้ไข้ กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุพิการและใบผสมกับยาชนิดอื่นปรุงเป็นยาขับเลือดเสีย
ราก สรรพคุณแก้ไข้
ประโยชน์ทางอาหาร
ส่วนที่เป็นผัก/ฤดูกาล ยอดอ่อนรับประทานเป็นผัก ออกในฤดูฝน ส่วนลูกของชะมวงมีรสเปรี้ยว เป็นผลไม้ป่าที่รับประทานเล่น
ประโยชน์ต่อสุขภาพ
ยอดอ่อนและใบอ่อนของชะมวงรสเปรี้ยว ช่วยระบาย แกัด ฟอก้ไข้ กเสมหะ แก้ธาตุพิการ
ใบชะมวง 100 กรัม ให้พลังงานต่อร่างกาย 51 กิโลแคลอรี่ มีเส้นใย 3.2 กรัม แคลเซียม 27 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 13 มิลลิกรัม เหล็ก 1.1 มิลลิกรัม วิตามินเอ 7,333 IU วิตามินบีหนึ่ง 0.7 มิลลิกรัม ไนอาซิน 0.2 มิลลิกรัม วิตามินซี 29 มิลลิกรัม
การปรุงอาหาร
ชาวใต้และตะวันออกรับประทานชะมวง โดยนำมาปรุงอาหารให้สุกก่อน เช่น แกงหมูใบชะมวงแกงใบชะมวงกับเนื้อวัว และอาหารประเภทต้มส้ม (ต้มส้มปลาไหล ต้มส้มปลาแห้ง)เป็นต้น ส่วนชาวอีสานจะนำยอดอ่อนของใบชะมวงใส่แกงอ่อมหรืออาจรับประทานเป็นผักสดร่วมกับป่นแจ่ว
ที่มา: page bansuanporpeang.com
Re: ต้นใบชะมวง ปลูกต้นชะมวง ไว้หลังบ้าน เอามาโชว์ เพิ่งสูงแค
เมนู กระดูกหมูใบชะมวง

ภาพจาก oknation.net

ภาพจาก oknation.net