ตำแย
ชื่ออื่นๆ : ตำแยช้าง (ภาคกลาง) กะลังตังช้าง (ภาคใต้) หานสา หานช้างไห้ หานช้างร้อง ว่านช้างร้อง หานไก่ (ภาคเหนือ)
ต้นกำเนิด : –
ชื่อสามัญ : Laportea interrpta (L.) ChewThatch Grass, Wolly Grass, Lalang Alang-alang
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Girardinia heterophylla Decne
ชื่อวงศ์ : Urticaceae

ลักษณะของตำแย
เป็นพืชล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 เมตร ไม่ผลัดใบ ทุกส่วนมีขนสากหนาแน่น ใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ทรงใบรูปฝ่ามือ เป็นพู 3-7 พู ขอบใบหยักซี่ฟันเลื่อย ตามก้านใบมีขนเป็นหนามแข็งๆ กอดเล็กสีเขียวอ่อน ออกรวมกันเป็นพวงใหญ่ตามง่ามใบ ผลเล็ก กลม ผิวผลมีหนามแข็งหนาแน่น
ส่วนที่เป็นพิษ ทุกส่วนที่มีขน พิษคล้ายขนหมามุ่ย
การขยายพันธุ์ของตำแย
ใช้เมล็ด/-
ธาตุอาหารหลักที่ตำแยต้องการ
–
ประโยชน์ของตำแย
–
สรรพคุณทางยาของตำแย
พิษระคายเคืองผิวหนัง
คุณค่าทางโภชนาการของตำแย
การแปรรูปของตำแย
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11728&SystemType=BEDO
http://www.rspg.or.th/plants_data/use/toxic_02.htm