ต้นอาศัย เป็นพืชหายาก ขึ้นในป่าดิบชื้นตามเนินเขา

อาศัย

ชื่ออื่นๆ : ไม้ฆ้อนตีหมา, หูกะทิง, หูทิง

ต้นกำเนิด : พบทางภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป ต่างประเทศพบที่เวียตนาม (ภาคใต้) มาเลเซีย และสุมาตรา ขึ้นในป่าดิบชื้นตามเนินเขา จนถึงระดับสูงประมาณ 200 เมตร

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixonanthes icosandra Jack

ชื่อวงศ์ :  IXONANTHACEAE

ลักษณะของอาศัย

ต้น  ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง โคนต้นเป็นพูพอนเล็กน้อย

ต้นอาศัย
ต้นอาศัย โคนต้นเป็นพูพอน เปลือกต้นสีน้ำตาล

ใบ  ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีแกมรูปไข่กลับ ขอบใบจักมน มีต่อมตามรอยจัก ก้านใบสั้นมาก

ใบอาศัย
ใบอาศัย รูปรีแกมรูปไข่กลับ ด้านใบสั้น

ดอก  ดอกเล็ก สีเหลืองอมเขียว ออกบนช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านช่อดอกยาวเรียว ส่วนบนแตกแขนงสั้นๆ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกติดทนอยู่กับผล เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านเกสรยาวเรียว ติดทน

ผล  ผลรูปกรวย เมื่อแห้งแตกเป็น 5 ซีก ออกดอกและผลระหว่างเดือน เมษายน – มิถุนายน

ผลอาศัย
ผลอาศัย ผลเป็นรูปกระสวย

การขยายพันธุ์ของอาศัย

การใช้เมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่อาศัยต้องการ

ประโยชน์ของอาศัย

ต้นอาศัย จัดเป็นพืชหายาก

สรรพคุณของอาศัย

คุณค่าทางโภชนาการของอาศัย

การแปรรูปอาศัย

สามารถติดตามความรู้เเกี่ยวกับการเกษตร เพิ่มเติมได้ที่ เกษตรตำบล.คอม

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.rspg.or.th
ภาพประกอบ : ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

One Comment

Add a Comment