กกสามเหลี่ยมใหญ่
ชื่ออื่นๆ : กก, กกตะกลับ, กกตาแดง, กกปรือ กกสามเหลี่ยม (กรุงเทพฯ , ภาคกลาง) กกคมบาง (ประจวบคีรีขันธ์) มะนิ่ว, มะเนี่ยว (เหนือ) แห้วกระดาน, แห้วหิน (ภาคตะวันตกเฉียงใต้)
ต้นกำเนิด : พบในบริเวณที่มีน้ำขัง อ่างเก็บน้ำ บ่อเลี้ยงปลาและตามคลองส่งน้ำทั่วประเทศไทยจั
ชื่อสามัญ : –
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Actinoscirpus grossus (L.f.) Goetgh & D.A.Simpson
ชื่อวงศ์ : Cyperaceae
ลักษณะของกกสามเหลี่ยมใหญ่
ต้น วัชพืชอายุยืนหลายฤดู ลำต้นเจริญเติบโตเป็นกอ มีลำต้นใต้ดินแตกไหลได้ ลำต้นมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยม พุ่มต้นสูงประมาณ 1-2 เมตร
ใบ ใบค่อนข้างแข็ง แผ่นใบแคบ เรียวยาวรูปใบหอก ขอบใบเรียบ ใบยาวประมาณ 50-100 ซม.
ดอก ออกเป็นช่อชนิดโคริมบ์ (corymb) ประกอบด้วยช่อดอกย่อยจำนวนมาก ดอกย่อยไม่มีก้านดอก เกิดลักษณะเวียนรอบก้านดอกอย่างหนาแน่น ดอกอ่อนเป็นสีเหลืองอ่อนอมเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อแก่

การขยายพันธุ์ของกกสามเหลี่ยมใหญ่
การใช้ไหลหรือเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่กกสามเหลี่ยมใหญ่ต้องการ
ประโยชน์ของกกสามเหลี่ยมใหญ่
- ใช้ทอเสื่อ
- จักสานเป็นฝาบ้าน ฝ้าเพดานหรือหลังคาบ้าน
- นอกจากนี้ยังสามารถทำเป็นตะกร้าและกระเป๋าได้
สรรพคุณทางยาของกกสามเหลี่ยมใหญ่
–
คุณค่าทางโภชนาการของกกสามเหลี่ยมใหญ่
การแปรรูปของกกสามเหลี่ยมใหญ่
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11708&SystemType=BEDO
www.flickr.com