ปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
ชื่ออื่นๆ : ปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Jew’s mallow, Tossa jute
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Corchorus olitorius L.
ชื่อวงศ์ : Tiliaceae
ลักษณะของปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
ปอกระเจาฝักยาวมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์คล้ายปอกระเจาฝักกลม แต่ปอกระเจาฝักยาวดอกใหญ่ ใบยาวกว่า และผลเป็นฝักกลมยาวเรียว ปลายแหลม เมื่อแก่แตกเป็น 3-6 ซีก ภายในผลมีผนังกั้น ออกดอกและติดผลระหว่างเดือนสิงหาคม-ธันวาคม

การขยายพันธุ์ของปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
ใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่ปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)ต้องการ
ประโยชน์ของปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
ประโยชน์ : เส้นใยจากเปลือกของลำต้นเมื่อลอกออกมาแล้วเรียกว่า “ปอ” นำไปใช้ทอกระสอบใส่ผลิตผลทางการเกษตร เช่น ข้าวโพด ข้าวสาร น้ำตาล ใช้ทอเป็นผ้า ทำพรม เยื่อกระดาษ ใบทำให้สุกแล้วกินได้
สรรพคุณทางยาของปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
–
คุณค่าทางโภชนาการของปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
การแปรรูปของปอกระเจาฝักแบน กระเจา ปอกระเจา มั่วเก่เช้า (ภาคกลาง)
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11744&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com