เอื้องปอหู
ชื่ออื่นๆ : ขี้เท่า (ชัยภูมิ) จ๊อง ไอจ๊อง (ปัตตานี) ชู้เมีย (เพชรบุรี) ปอจง ปอสามเต๊า เปิด (เชียงใหม่) ปอเปิด (ชลบุรี) ปอมุก (ชุมพร) อูจง (ตรัง)
ต้นกำเนิด : เอเชียเขตร้อนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem.
ชื่อวงศ์ : MALVACEAE
ลักษณะของปอหู
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงถึง 15 ม. ใบเดี่ยว เรียนแบบเวียน รูปค่อนข้างกลม หรือรูปหัวใจกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-35 ซม. ขอบใบเรียบหรือเว้าเป็นพูตื้น ใบอ่อนมีขนรูปดาวหนาแน่น ดอกยาว 5-7.5 ซม. สีเหลืองสดมีแต้มสีม่วงตรงกลาง กลีบเลี้ยง 2-2.5 ซม. มีหนามสั้นด้านนอก กลีบดอกคล้ายรูปกรวย ผลแห้งแตกเป็น 10 พู ออกดอก เดือน มี.ค.-พ.ค

การขยายพันธุ์ของปอหู
การเพาะเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่ปอหูต้องการ
ประโยชน์ของปอหู
- ปลูกเป็นไม้ประดับ
- เนื้อไม้ใช้ก่อสร้างภายใน เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
- เส้นใยจากเปลือกใช้ทำเชือก
สรรพคุณทางยาของปอหู
–
คุณค่าทางโภชนาการของปอหู
การแปรรูปของปอหู
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11313&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com