มหาหงส์เหลือง
ชื่ออื่นๆ : สเลเตเหลือง
ต้นกำเนิด : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hedychium flavescens Carey ex Roscoe
ชื่อวงศ์ : Zingiberaceae
ลักษณะของมหาหงส์เหลือง
มีเหง้าเหมือนขิง ข่า ส่วนเหนือดินสูง 1 – 1.5 ม. ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก ผิวใบเรียบทั้งสองด้าน ช่อดอกออกจากปลายยอด ตั้งตรง ใบประดับสีเขียว ดอกมีกลิ่นหอม กลีบดอกสีเหลืองอ่อน กลีบปากสีเหลืองอ่อน โคนกลีบสีเหลืองเข้ม ปลายแยกเป็น 2 พู เกสรเพศผู้ยื่นยาวพ้นกลีบดอก


การขยายพันธุ์ของมหาหงส์เหลือง
ใช้หัว/เหง้า
ธาตุอาหารหลักที่มหาหงส์เหลืองต้องการ
ประโยชน์ของมหาหงส์เหลือง
ต้นปลูกประดับ ดอก ใช้ในพิธีกรรมความเชื่อต่างๆ ทางศาสนา
สรรพคุณทางยาของมหาหงส์เหลือง
เหง้า ใช้รับประทาน แก้อาการฟกชํ้า ใช้เป็นยาห่มหลังคลอด หน่ออ่อน ใช้รักษาอาการปวดเอว
คุณค่าทางโภชนาการของมหาหงส์เหลือง
การแปรรูปของมหาหงส์เหลือง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9490&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com