เถาสะอึก
ชื่ออื่นๆ : ฉะอึก (นครราชสีมา) เถาสะอึก (ภาคกลาง) มะอึก (นครราชสีมา) สะอึกดะลึง (กาญจนบุรี)
ต้นกำเนิด : –
ชื่อสามัญ : Ivy woodrose
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Merremia hederacea (Burm. f.) Hallier f.
ชื่อวงศ์ : CONVOLVULACEAE
ลักษณะของเถาสะอึก
ต้น ไม้ล้มลุกเลื้อย ลำต้นกลมเรียวเล็กเรียบ หรือมีตุ่มขรุขระเล็กน้อย ผิวเกลี้ยงหรือมีขนประปราย โดยเฉพาะบริเวณเหนือข้อ
ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ ตัวใบรูปไข่กว้าง โคนใบเว้า ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ หรือจักเล็กน้อย จนถึงหยักเว้าตื้นๆ 3 หยัก ยาว 2-6 ซม. กว้าง 2-4 ซม.
ดอก ดอกออกเป็นช่อ 2-3 ดอก ดอกสีเหลืองขนาดเล็กรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม.
ผล ผลกลมเป็นแตก 4 แฉก ภายในมีเมล็ด ซึ่งมีขนสั้นๆ 4 เมล็ด

การขยายพันธุ์ของเถาสะอึก
การเพาะเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่เถาสะอึกต้องการ
ประโยชน์ของเถาสะอึก
เป็นวัชพืช พบตามริมถนน
สรรพคุณทางยาของเถาสะอึก
- ใบ บดผสมขมิ้นและข้าวแก้ทอนซิลอักเสบ
- ใบ ทํายาพอก แก้มือและเท้าแตก ตํากับขมิ้นเป็นยาพอกลดการอักเสบแผล และบ่มฝี
- ทั้งต้น ต้มน้ำดื่มหรือแช่น้ำทา แก้งูสวัด

คุณค่าทางโภชนาการของเถาสะอึก
การแปรรูปของเถาสะอึก
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10590&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com