แก้วมุกดา
ชื่ออื่นๆ : ดอกแก้วมุกดา
ต้นกำเนิด : แถบเอเชีย เช่น อินเดีย ศรีลังกา พม่า ลาว เวียดนาม จีนตอนใต้ หมู่เกาะไต้หวันตอนใต้ มาเลเซีย
ชื่อสามัญ : Perfume flower tree, Pua Keni Keni, Trai Tichlan, Lau binh, Gia
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Fagraea racemosa Javanic, Fagraea blumeaua
ชื่อวงศ์ : LOGANIACEAE
ลักษณะของแก้วมุกดา
ต้น ไม้พุ่มรอเลื้อย เมื่ออยู่กลางแจ้งจะเป็นไม้พุ่มเตี้ยขนาดเล็ก (4 ปี สูงประมาณ 2.5 ม.) ทรงพุ่มแผ่กว้าง เปลือกต้นสีเทา
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปไข่กลับ ปลายแหลมติ่ง โคนสอบเรียว ขอบเรียบ แผ่นใบหนา ผิวมัน สีเขียวเข้ม
ดอก ออกดอกเป็นช่อ ตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือดอกสีเหลืองอ่อน กลีบเชื่อมติดกันรูปปากแตร ปลายแยก 5 แฉก รูปหัวใจ ปลายเว้า กลีบม้วนงอออก เกสรเพศผู้ 5 เกสร ดอกมีกลิ่นหอม ฤดูกาลออกดอกเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม


การขยายพันธุ์ของแก้วมุกดา
เพาะเมล็ด, ตอนกิ่ง
ธาตุอาหารหลักที่แก้วมุกดาต้องการ
ประโยชน์ของแก้วมุกดา
ปลูกประดับสวน ปลูกให้ร่มเงา
สรรพคุณทางยาของแก้วมุกดา
คุณค่าทางโภชนาการของแก้วมุกดา
การแปรรูปของแก้วมุกดา
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11892&SystemType=BEDO