พุดป่า
ชื่ออื่นๆ : พุดจีบ, พุดสวน, พุด (ภาคกลาง) คำมอกสงขลา (สงขลา) พุดป่า (ชลบุรี, เหนือ) รักนา (ภูเก็ต, ใต้)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : ดอกพุดป่า
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gardenia thailandica Tirveng.
ชื่อวงศ์ : Rubiaceae
ลักษณะของพุดป่า
ลักษณะทั่วไป : ไม้พุ่มเตี้ยขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขาบริเวณโคนต้นมาก มีถิ่น กำเนิดในประเทศไทย ดอกหอมอ่อน ๆ ตลอดวัน (หอมมากตอนเย็นใกล้มืด)

การขยายพันธุ์ของพุดป่า
การเพาะเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่พุดป่าต้องการ
ประโยชน์ของพุดป่า
- นิยมนำไปร้อยพวงมาลัยบูชาพระ
- เมล็ดสีเหลืองทอง ใช้แต่งสีอาหารและทำสีย้อม

สรรพคุณทางยาของพุดป่า
เป็นพันธุ์ไม้หอมขนาดเล็ก ต้องการพื้นที่ในการปลูกไม่มากเพียง 1 – 2 ตรม. ก็เพียงพอ กลิ่นหอมแรง ลักษณะดอกสวยงามมาก
คุณค่าทางโภชนาการของพุดป่า
การแปรรูปของคำมอกพุดป่า
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=12130&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com
https://denmaisung.thai.ac