เอื้องช้างงาเดียว
ชื่ออื่นๆ :
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : ช้างงาเดียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Thunia alba (Lindl.) Rchb.f.
ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE
ลักษณะของเอื้องช้างงาเดียว
ลักษณะ กล้วยไม้ดินหรืออิงอาศัย ต้นเป็นลำเรียว ยาวได้ถึง 1 เมตร ใบ รูปรีแคบแกมขอบขนาน กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 10-20 ซม. ดอก สีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายยอด เป็นกระจุก 2-8 ดอก มีใบประดับรองรับ ดอกบานกว้าง 5-7 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอก รูปหอก ปลายกลีบเรียว แหลม ลักษณะบานห่อๆ กลีบปากสีเหลือง กลางกลีบมีขนเรียงเป็นแถว และมีริ้วหรือขีดสีส้มแดงโดยทั่ว ขอบกลีบหยักเป็นคลื่น

การกระจายพันธุ์
และนิเ้วศวิทยา พบในป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน

การขยายพันธุ์ของเอื้องช้างงาเดียว
ใช้ส่วนอื่นๆ/การเพาะเนื้อเยื่อ
ธาตุอาหารหลักที่เอื้องช้างงาเดียวต้องการ
ประโยชน์ของเอื้องช้างงาเดียว
เป็นไม้ดอกไม้ประดับ
สรรพคุณทางยาของเอื้องช้างงาเดียว
–
คุณค่าทางโภชนาการของเอื้องช้างงาเดียว
การแปรรูปของเอื้องช้างงาเดียว
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11319&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com