หนวดปลาหมึกแคระ
ชื่ออื่นๆ :
ต้นกำเนิด : ไต้หวัน
ชื่อสามัญ : Dwarf Umbrella Tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Schefflera arboricola (Hayata) Merr.
ชื่อวงศ์ : ARALIACEAE
ลักษณะของหนวดปลาหมึกแคระ
ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็กกึ่งรอเลื้อยอิงอาศัย สูง 50-150 เซนติเมตร ทรงพุ่มกลม
ใบ ใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับ มีใบย่อย 7-11 ใบ รูปไข่กลับ กว้างประมาณ 4.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 11 เซนติเมตร ปลายมนหรือเว้าบุ๋ม โคนสอบ ขอบเรียบ แผ่นใบสีเขียวเข้ม เกลี้ยง เป็นมัน ก้านใบย่อยสีเขียวอ่อน
ดอก ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงเชิงประกอบ ช่อย่อยแบบซี่ร่ม ออกดอกตามปลายกิ่งหรือยอด ช่อดอกตั้ง ดอกสีชมพู มีขนาดเล็ก

การขยายพันธุ์ของหนวดปลาหมึกแคระ
ปักชำกิ่ง
ธาตุอาหารหลักที่หนวดปลาหมึกแคระต้องการ
ประโยชน์ของหนวดปลาหมึกแคระ
นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ปลูกลงกระถางประดับในอาคาร หรือปลูกในสวน บริเวณที่มีแสงปานกลาง-รำไร เช่น ริมน้ำตก ลำธาร สระว่ายน้ำ หรือริมถนน ทางเดิน
สรรพคุณทางยาของหนวดปลาหมึกแคระ
คุณค่าทางโภชนาการของหนวดปลาหมึกแคระ
การแปรรูปของหนวดปลาหมึกแคระ
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11219&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com