เอื้องสายน้ำผึ้ง
ชื่ออื่นๆ : เอื้องสายประสาท เอื้องสายเหลือง เอื้องสายน้ำเขียว
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : –
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrobium primulinum Lindl.
ชื่อวงศ์ : Orchidaceae
ลักษณะของเอื้องสายน้ำผึ้ง
ลักษณะทั่วไป กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น ลำลูกกล้วยเรียวยาว ห้อยลง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.3 ซม. ยาว 40-80 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3 ซม. ยาว 10-12 ซม. ดอก ออกตามข้อ มี 2-3 ดอก ขนาด 5- 6.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปแถบ มีสีขาวอมชมพู กลีบปากแผ่มนเกือบกลม สีเหลืองอ่อน มีขนนุ่ม ขอบกลีบหยักละเอียด มีกลิ่นหอมอ่อนๆ
แหล่งที่พบ ตามป่าผลัดใบ ป่าดิบเขา ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังผสมสน ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 700-1,600 เมตร มักพบในที่โล่งแจ้งแสงแดดจัด ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การขยายพันธุ์ของเอื้องสายน้ำผึ้ง
ใช้หัว/เหง้า/หน่อ/โดยเหง้า และ สปอร์ หรือการแยกหน่อ
ธาตุอาหารหลักที่เอื้องสายน้ำผึ้งต้องการ
ประโยชน์ของเอื้องสายน้ำผึ้ง
เป็นประดับ เพื่อความสวยงาม
สรรพคุณทางยาของเอื้องสายน้ำผึ้ง
คุณค่าทางโภชนาการของเอื้องสายน้ำผึ้ง
การแปรรูปของเอื้องสายน้ำผึ้ง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10808&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com