ช้าส้าน
ชื่ออื่นๆ : ช้าส้าน, ส้านแก่น (เชียงใหม่)
ต้นกำเนิด : พบในพื้นที่อุทยานฯดอยอินทนนท์ บริเวณริมถนนตั้งแต่ด่านตรวจฯ 2 ขึ้นไป
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Saurauia napaulesis DC.
ชื่อวงศ์ : ACTINIDIACEAE
ลักษณะของช้าส้าน
ต้น ไม้ต้น สูง 4-10 ม. กิ่งก้านและช่อดอกเปราะอ่อน มีขนสีน้ำตาลทั่วไป
ใบ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ ขนาดกว้าง 7.5-12 ซม. ยาว 20-35 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบและเส้นใบจักและหยักเป็นคลื่น เส้นใบขนานชัดเจน ก้านใบยาว 2.5-5 ซม.

ดอก ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อที่ซอกใบและปลายยอด แกนช่อดอกยาว 20-35 ซม. กลีบรองดอกรูปไข่เกือบกลม ยาว 3-4 ซม. กลีบดอกรูประฆัง ยาว 0.9-0.8 ซม. ออกดอกในราวเดือน ก.ค. – ต.ค

ผล ผลมีลักษณะกลม ผลสดสีเขียว ภายในผลมีเมล็ดจำนวนมาก
การขยายพันธุ์ของช้าส้าน
การเพาะเมล็ด
ปลูกในพื้นที่แห้งและอุณหภูมิต่ำ
ธาตุอาหารหลักที่ช้าส้านต้องการ
ประโยชน์ของช้าส้าน
เป็นพันธุ์ไม้ป่าของไทย
สรรพคุณของช้าส้าน
คุณค่าทางโภชนาการของช้าส้าน
การแปรรูปช้าส้าน
สามารถติดตามความรู้เเกี่ยวกับการเกษตร เพิ่มเติมได้ที่ เกษตรตำบล.คอม
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.qsbg.org
ภาพประกอบ : www.dnp.go.th
ช้าส้านหรือส้านแก่น พบมากในพื้นที่แห้งและอุณหภูมิต่ำ เช่น ดอยอินทนนท์