กระดุมใบ
ชื่ออื่นๆ : ชากรูด (ภาคใต้) ตาฉี่โพ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ผักกระสัง (ภาคกลาง) ผักกูด (เพชรบุรี) ผักราชวงศ์ (แม่ฮ่องสอน) ผักสังเขา (สุราษฎร์ธานี) ผักฮากกล้วย (ภาคเหนือ)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Buttonweed, Irongrass
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Borreria laevis (L.) Griseb.
ชื่อวงศ์ : Rubiaceae
ลักษณะของกระดุมใบ
ต้น พืชล้มลุก ต้นมีขนาดเล็กสูงประมาณ 10-20 ซม. ลำต้นและใบมีสีเขียวใส ลำต้นเปราะหักง่าย
ใบ รูปรีแกมขอบขนานถึงใบหอก ปลายเรียวแหลม สีเขียวเข้มหรือเขียวปนน้ำตาลแดงถึงม่วงดำ ยาว 2-6 เซนติเมตร มักไม่มีก้านใบ
ดอก ช่อดอกเป็นกระจุกกลมแน่นที่ซอกใบ กลีบดอก 4 กลีบ โคนกลีบติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายเรียวแหลม สีขาวหรือขาวอมชมพู ขนาดเล็กมาก
ผล แห้ง แตก
การขยายพันธุ์ของกระดุมใบ
ใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่กระดุมใบต้องการ
ประโยชน์ของกระดุมใบ
ในธรรมชาติพบตามริมทาง ทุ่งหญ้า ทุ่งนาไปจนถึงที่ค่อนข้างแห้ง
สรรพคุณทางยาของกระดุมใบ
คุณค่าทางโภชนาการของกระดุมใบ
การแปรรูปของกระดุมใบ
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11702&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com