กล้วยร้อยหวี กล้วยงวงช้าง กล้วยพันธุ์แปลกหายาก
ชื่ออื่นๆ : กล้วยงวงช้าง บายศรี ปิซังเซริ
ต้นกำเนิด : มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย
ชื่อสามัญ : กล้วยร้อยหวี
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa chiliocarpa Back.
ชื่อวงศ์ : MUSACEAE
ลักษณะของกล้วยร้อยหวี
กล้วยร้อยหวี กล้วยเศรษฐีร้อยหวีพันลู เป็นไม้ล้มลุก มีลำต้นเป็นเหง้าใต้ดิน ลำต้นเทียมเป็นกาบใบหุ้มซ้อนกัน สูง 3-3.5 เมตร แตกกอเช่นเดียวกับกล้วยทั่ว ๆ ไป ใบของกล้วยร้อยหวีเป็นใบเดี่ยวรูปขอบขนาน กว้าง 40 ซม. ยาว 2-2.5 ซม. โคนมน ปลายตัด ดอกออกที่ปลายต้น เป็นปลีห้อยลงมา กล้วยร้อยหวีมีงวงปลียาวเป็นพิเศษ บางครั้งถึง 2 เมตร มีจำนวนหวีมากอยู่ชิดกัน ผล มีขนาดเล็กเรียงเบียดกันแน่นในหวี ผลสุกสีเหลือง รสหวานรับประทานได้ มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
การขยายพันธุ์ของกล้วยร้อยหวี
ใช้หัว/เหง้า/หน่อ/แยกเหงาปลูกได้เลย
ธาตุอาหารหลักที่กล้วยร้อยหวีต้องการ
ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จากนั้นให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับปุ๋ยอินทรีย์ทุก 3 เดือน
ประโยชน์ของกล้วยร้อยหวี
ซึ่งลักษณะเด่นที่สวยงามคือ เวลาออกลูกจะมีหวีกล้วยที่ยาวจนเรียกติดปากกันว่ากล้วยร้อยหวี ปลูกเป็น
สรรพคุณทางยาของกล้วยร้อยหวี
ประโยชน์ทางพืชสมุนไพรของ กล้วยร้อยหวี ก็มีเช่นเดียวกันคือ ใช้ผลดิบทั้งเปลือกหั่นตากเเห้งป่นเป็นผงชงน้ำร้อนหรึอปั้นเป็นเม็ดรับประทานรักษาเเผลในกระเพาะอาหาร เเก้ท้องเสียเรื้อรัง เเผลเน่าเบื่อย เเผลติดเชื้อต่างๆ ส่วนเปลือกของผลสุกใช้ด้านในทาส้นเท้าเเตก หัวปลีเเก้โรคโลหิกจางลดน้ำตาล ในเลือด เเก้เบาหวาน ส่วนรากต้มดื่มเเก้ไข้ได้อย่างดี
คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยร้อยหวี
–
การแปรรูปของกล้วยร้อยหวี
–
เกษตรตำบล ศูนย์รวมความรู้การเกษตร ปลูกได้ ขายเป็น เน้นเกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีเกษตร กับกล้วยงวงช้าง
References : www.bedo.or.th
รูปภาพจาก : www.qsbg.org
เรียบเรียงข้อมูลโดย : เกษตรตำบล.คอม
มีใครรู้บ้าง จะตัดหัวปลี ตอนไหน