คางควาย
ชื่ออื่นๆ : ตานขโมย (สุราษฏร์ธานี) หางไหล (ตราด) เครือปี้ (เชียงใหม่)
ต้นกำเนิด : พบตามป่าเต็งรัง
ชื่อสามัญ : เครือคางควาย
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dalbergia velutina Benth.
ชื่อวงศ์ : Leguminosae-Papilonoideae
ลักษณะของคางควาย
ต้น ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ลำต้นสูง 2-4 เมตร ตามกิ่งก้านและยอดอ่อนมีขนหนาแน่น
ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงแบบสลับ ใบย่อย รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-4 เซนติเมตร กว้าง 1-2 เซนติเมตร ฐานใบกลม ปลายใบมนหรือเว้าเล็กน้อย ขอบใบเรียบ แผ่นใบบาง ผิวใบทั้งสองด้านมีขนหนาแน่น
ดอก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตรงซอกใบ ดอกเรียงตัวหนาแน่นเป็นกระจุก มีขนสีน้ำตาลหนาแน่น กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ สีเขียว เชื่อมติดกันตรงโคนส่วนปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก กลีบดอก มี 5 กลีบ สีขาว เกสรเพศผู้ มี 10 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปขอบขนาน
ผล ผลสีน้ำตาล รูปขอบขนาน
การขยายพันธุ์ของคางควาย
-/
ธาตุอาหารหลักที่คางควายต้องการ
ประโยชน์ของคางควาย
สรรพคุณทางยาของคางควาย
ราก ผสมหัวกระเทียมและรากพริกไทย ต้มน้ำดื่ม บำรุงน้ำนม
คุณค่าทางโภชนาการของคางควาย
การแปรรูปของคางควาย
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11807&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com