ชะเอมเลี่ยน
ชื่ออื่นๆ : ชะเอมป่า (กลาง) ตาลอ้อย (ตราด) เพาะซูโพ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ย่านงาย (ตรัง) ส้มป่อยหวาน (ภาคเหนือ) อ้อยช้าง (สงขลา,นราธิวาส)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : ชะเอมไทย Littleleaf sensitive-briar, Sensitive briar
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aibizia myriophylla Benth
ชื่อวงศ์ : Leyuminosae-mimosoideae
ลักษณะของชะเอมเลี่ยน
ต้น ไม้เถารอเลื้อย ลำต้นกิ่งก้านมีหนามแหลมสั้น เปลือกต้นมีรอยแตกตามขวางลำต้น
ใบ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ใบย่อยรูปขอบขนาน ปลายใบรูปใบห่อ โคนใบเบี้ยวขอบใบเรียบแผ่นใบเรียบ
ดอก ดอกเป็นช่อ ตามซอกใบและปลายยอดมีดอก 2 แบบดอกสีเหลืองอ่อน กลีบดอกเล็ก เกษรเพศผู้ยาว
ผล ผลเป็นฝักแบบผิวเรียบ ฝักอ่อนสีเขียวพอแก่เป็นสีน้ำตาลและแตกออก
การขยายพันธุ์ของชะเอมเลี่ยน
การเพาะเมล็ด, การปักชำกิ่ง
เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุย ความชื้นปานกลาง
ธาตุอาหารหลักที่ชะเอมเลี่ยนต้องการ
ประโยชน์ของชะเอมเลี่ยน
ทั้งต้นมีสรรพคุณทางสมุนไพร
สรรพคุณทางยาของชะเอมเลี่ยน
ส่วนที่ใช้ : ราก เนื้อไม้
- ราก – แก้ไอ ขับเสมหะ ทำให้ชุ่มคอ ใช้แทนชะเอมเทศ
- เนื้อไม้ – บำรุงธาตุ แก้กระหายน้ำ แก้โรคในคอ วิธีและปริมาณที่ใช้ แก้ไอขับเสมหะ
- ใช้รากยาว 2-4 นิ้ว ต้มน้ำรับประทาน เช้า-เย็น ถ้าไม่ทุเทา รับประทานติดต่อกัน 2-4 วัน
- ดอกช่วยย่อยอาหารอไม้แก้เสมหะแก้อาการเลือดออกตามไรฟัน
คุณค่าทางโภชนาการของชะเอมเลี่ยน
การแปรรูปของชะเอมเลี่ยน
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9187&SystemType=BEDO
https://th.wikipedia.org
https://www.flickr.com
One Comment