ดอกดิน
ชื่ออื่นๆ : ) ดอกดินแดง (ตราด) สบแล้ง (สงขลา) หญ้าดอกขอ (เลย) ปากจะเข้ (เหนือ) ซอซวย (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : Broomrape
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aeginetia indica Roxb.
ชื่อวงศ์ : Orobanchaceae
ลักษณะของดอกดิน
เป็นพืชเบียน อาศัยอยู่บนรากไม้บางชนิด เช่นรากไผ่ ลำต้นเป็นเหง้าใต้ดินขนาดเล็ก ใบ เป็นแผ่นเล็กๆ อยู่ใต้ดิน ดอก เดี่ยว ก้านช่อดอกยาวเล็ก งอกออกมาจากเหง้าใต้ดิน เหง้าละ 1-2 ดอก ตัวดอกเมื่อตูมเป็นรูปทรงแหลม สีชมพูม่วง โค้งลง เกสรเพศผู้ติดอยู่ที่โคนหลอด เกสรเพศเมียเหลือง อวบน้ำ เมล็ดสีขาวขนาดเล็กจำนวนมาก
การขยายพันธุ์ของดอกดิน
ใช้หัว/เหง้า/หน่อ/-
ธาตุอาหารหลักที่ดอกดินต้องการ
ประโยชน์ของดอกดินแดง
ประโยชน์ : อาหาร ดอก ก้านดอก ใช้นึ่งเป็นผักจิ้ม ดอกสดใช้แต่งสีอาหาร สีเป็นพวก aucubin ใช้ทำขนมดอกดิน สีของขนมที่ได้มีสีน้ำเงินเข้มเกือบดำ หรือแต่งสีหน้าข้าวเหนียว ให้ได้สีม่วงดำเรียกว่า หม่าข้าว
สรรพคุณทางยาของดอกดิน
ทั้งต้นและดอกทำยาชงแก้เบาหวาน
คุณค่าทางโภชนาการของดอกดิน
การแปรรูปของดอกดิน
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11734&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com