ดอกเข็มป่า
ชื่ออื่นๆ :
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : ดอกยายกลั้ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora Cibdela Craib.
ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE
ลักษณะของดอกเข็มป่า
เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 1-2 เมตรใบกลมปลายแหลม ใบบางเรียบมัน ขอบใบเป็นนหยักเล็กน้อยดอกมีสีครามคล้ายดอกเข็ม ออกส่วนยอดผลแก่สีเขียว ผลสุกสีดำ ออกเป็นช่อปลายผลแหลม ผลแบนดูคล้ายผลแผด ข้างในมีเมล็ด 2 เมล็ด

การขยายพันธุ์ของดอกเข็มป่า
-/กอติดราก และเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่ดอกเข็มป่าต้องการ
ประโยชน์ของดอกเข็มป่า
ยอด ดอก และผลอ่อน ใช้แกงเลียง
สรรพคุณทางยาของดอกเข็มป่า
สรรพคุณ: เปลือกต้น: รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ตำคั้นเอาน้ำหยอดหูฆ่าแมลงเข้าหู
ใบ: รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิทั้งปวง
ดอก: รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้โรคตา ตาแฉะ ตาแดง
ลูก: รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ริดสีดวงงอกในจมูก
ราก: รสเฝื่อน สรรพคุณ ขับเสมหะในท้อง ขับเสมหะในทรวงอกและแก้ฝีในท้อง
คุณค่าทางโภชนาการของดอกเข็มป่า
การแปรรูปของดอกเข็มป่า
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10428&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com