ตำแย
ชื่ออื่นๆ : ตำแยช้าง (ภาคกลาง) กะลังตังช้าง (ภาคใต้) หานสา, หานช้างไห้, หานช้างร้อง, ว่านช้างร้อง หานไก่ (ภาคเหนือ)
ต้นกำเนิด : –
ชื่อสามัญ : Thatch Grass, Wolly Grass, Lalang Alang-alang
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Laportea interrupta (L.) Chew
ชื่อวงศ์ : Urticaceae
ลักษณะของตำแย
ต้น เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ มีความสูงของต้นได้ถึง 50 เซนติเมตร ทุกส่วนของต้นมีขนพิษ
ใบ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบป้านหรือหยักเว้า ส่วนขอบใบหยักหรือจักเป็นซี่ฟัน ผิวใบด้านล่างเป็นมีสีเขียวอ่อน
ดอก ออกดอกเป็นช่อโค้งยาวตามปลายกิ่งและซอกใบ ดอกเป็นแบบแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกย่อยมีจำนวนมาก และดอกเป็นสีเขียว
การขยายพันธุ์ของตำแย
การใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่ตำแยต้องการ
–
ประโยชน์ของตำแย
–
สรรพคุณทางยาของตำแย
พิษระคายเคืองผิวหนัง
ส่วนที่เป็นพิษ ทุกส่วนที่มีขน พิษคล้ายขนหมามุ่ย
สารพิษ : สาร histamine, acetylcholine, formic acid, 5-hydroxy tryptamine, acetic acid ฯลฯ
อาการเกิดพิษ : ขนเมื่อถูกผิวหนังจะมีอาการปวดแสบปวดร้อน ระคายเคือง บวมแดง ถ้าเป็นบริเวณผิวหนังอ่อนนุ่มจะมีอาการรุนแรงยิ่งขึ้น การรักษา : เอาขนที่ติดอยู่ออกก่อน โดยใช้วิธีเดียวกับเอาขนหมามุ่ยออก ถ้ายังมีอาการคันให้ทายาคาลาไมน์ หรือครีมที่เข้าสเตียรอยด์ เช่น เพนนิโซโลน ถ้ายังมีอาการปวดอยู่ ให้รับประทานยา chorpheniramine 4 มิลลิกรัม ครั้งละ 1 เม็ด ทุก 6 ชั่วโมง
คุณค่าทางโภชนาการของตำแย
การแปรรูปของตำแย
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11728&SystemType=BEDO
http://www.rspg.or.th/plants_data/use/toxic_02.htm
https://www.flickr.com