ตีนตุ๊กแก ลำต้นเป็นเถา รากแตกออกตามข้อ เอาไว้สำหรับเกาะเลื้อยดูดอาหารจากที่ยึดเกาะ

ตีนตุ๊กแก

ชื่ออื่นๆ : ตีนตุ๊กแกเกาะผนัง, มะเดื่อเถา (กรุงเทพฯ); ลิ้นเสือ (ภาคกลาง)

ต้นกำเนิด : ออสเตรเลีย และประเทศในแถบเอเชีย อาทิ ญี่ปุ่นและจีน

ชื่อสามัญ : Creeping Fig, Climbing Fig, Creeping Rubber Fig

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus pumila

ชื่อวงศ์ : MORACEAE

ลักษณะของตีนตุ๊กแก

เป็นไม้เลื้อยตระกูลไทร ลำต้นเป็นเถา รากแตกออกตามข้อ โดยเอาไว้สำหรับเกาะเลื้อยดูดอาหารจากที่ยึดเกาะ ใบเป็นรูปหัวใจมีขนาดเล็ก พื้นใบมีสีเขียว บางชนิดมีขอบใบสีขาว ขอบใบหยักและมีปุ่มเล็ก ๆ คล้ายกับตีนของตุ๊กแก ปลายใบแหลม ผิวใบสาก ดอก ออกเป็นช่อกระจุกรวมกัน แบบ head ประกอบด้วยดอกเล็กๆเรียงกันเป็นสอง วงกลีบดอกสีเหลืองหรือขาวอมเหลืองก้านช่อดอก ประมาณ10-30เซนติเมตรออกดอกตลอดปี  ผล เป็นหลอดสีน้ำตาลเทา มีขนขึ้นเป็นพู สีเทาขาว

ตีนตุ๊กแก  เป็นหนึ่งเดียวที่มีลำต้นทอดเลื้อยและมีขนาดเล็ก

ตีนตุ๊กแก
ลำต้นเป็นเถาเลื้อย ใบตีนตุ๊กแก เป็นรูปหัวใจมีขนาดเล็ก พื้นใบมีสีเขียว ขอบใบหยัก

การขยายพันธุ์ของตีนตุ๊กแก

เพาะเมล็ดและการปักชำ

ธาตุอาหารหลักที่ตีนตุ๊กแกต้องการ

ประโยชน์ของตีนตุ๊กแก

ปลูกประดับบ้าน นิยมปลูกในกระถางและตามรั้วกำแพง ต้นอ่อนใช้เป็นอาหารสัตว์ได้

สรรพคุณทางยาของตีนตุ๊กแก

คุณค่าทางโภชนาการของตีนตุ๊กแก

การแปรรูปของตีนตุ๊กแก

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10898&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment