ต่างไก่ป่า ไม้พุ่ม ใบใช้เป็นยาได้

ต่างไก่ป่า

ชื่ออื่นๆ :  ต่างไก่ป่า (เชียงใหม่ , เลย)

ต้นกำเนิด : พบที่เอเชียใต้ จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ความสูง 900–2300 เมตร

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Polygala arillata Buch.-Ham. ex D. Don

ชื่อวงศ์ : POLYGALACEAE

ลักษณะของต่างไก่ป่า

ต้น  ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม.

ใบ   เป็นใบเดี่ยว รูปใบหอก กว้าง 4-7 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบเรียวแหลมยาว ขอบใบเรียบเป็นคลื่น ก้านใบยาว 1-2 ซม.

ใบต่างไก่ป่า
ใบต่างไก่ป่า ใบรูปหอก ปลายเรียวแหลม

ดอก  ช่อดอกห้อยลง สีเหลืองอมส้ม กลีบดอกอันล่างเป็นกลีบกระทง มีความยาวเป็นสองเท่าของกลีบอื่น เกสรผู้ 8 อัน รวมเป็นมัด ปลายสีส้ม ออกดอกเดือนกรกฎาคม

ดอกต่างไก่ป่า
ดอกต่างไก่ป่า ดอกสีเหลืองอมส้ม

ผล   ผลแห้ง มี 2 พู ผลสุกสีแดง เมื่อแตกเห็นเมล็ดสีดำเป็นมันวาว

การขยายพันธุ์ของต่างไก่ป่า

การใช้เมล็ด

พบในป่าดิบเขาระดับต่ำ

ธาตุอาหารหลักที่ต่างไก่ป่าต้องการ

ประโยชน์ของต่างไก่ป่า

ใบใช้เป็นยาได้

สรรพคุณทางยาของต่างไก่ป่า

คุณค่าทางโภชนาการของต่างไก่ป่า

การแปรรูปของต่างไก่ป่า

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.qsbg.org
ภาพประกอบ : www.flickr.com

One Comment

Add a Comment