สองสลึง
ชื่ออื่นๆ : พังคีใหญ่, พังคีต้น (นครราชสีมา) ซี, พะเนียงหัด (อุบลราชธานี) ผีเสื้อดง (เชียงใหม่) ยายปู, สองสลึง (ชุลบุรี, พิษณุโลก)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : สองสลึง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lophopetalum duperreanum Pierre
ชื่อวงศ์ : CELASTRACEAE
ลักษณะของสองสลึง
ต้น เป็นไม้ต้นขนาดกลาง สูง เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง เปลือกนอกสีเทาเข้ม ค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดรูปสี่เหลี่ยม เปลือกในสีน้ำตาลแดง
ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนา ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบอ่อนสีแดง
ดอก ดอกเป็นดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง ดอยย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาว ออกดอกเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
ผล ผลหยักตามแนวยาวเป็น พู ผลแก่สีน้ำตาลแดง เมื่อแห้งแตกตามรอยประสาน เมล็ดแบน มีปีก ผลออกเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
การขยายพันธุ์ของสองสลึง
การเพาะเมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่สองสลึงต้องการ
ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ดีในดินร่วนซุย ไม่อุ้มน้ำ
ประโยชน์ของสองสลึง
ยอดอ่อน ใบอ่อนมีรสฝาด รับประทานเป็นผักสด กับน้ำพริก แจ่วและลาบ
สองสลึง เป็นพรรณไม้หายาก
สรรพคุณของสองสลึง
คุณค่าทางโภชนาการของสองสลึง
การแปรรูปสองสลึง
สามารถติดตามความรู้เเกี่ยวกับการเกษตร เพิ่มเติมได้ที่ เกษตรตำบล.คอม
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.tistr.or.th
ภาพประกอบ : FB สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
สองสลึง เป็นพรรณไม้หายาก