ต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น พบตามนาข้าว ที่รกร้างทั่วไป

ต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น

ชื่ออื่นๆ : ขางปากปูด, สะแองใบมน, เส้งใบมน

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : หญ้าเซ่งใบมน Wire Bush

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Melochia corchorifolia L.

ชื่อวงศ์ : Sterculiaceae

ลักษณะของต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น

ไม้ล้มลุก อายุหลายปี วัชพืช ลำต้น ก้านใบและช่อดอกมีขนรูปดาวปกคลุม  ใบรูปไข่แกมขอบขนาน ปลายแหม ขอบหยัก ดอกเป็นกระจุกแน่นที่ซอกใบปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีม่วงอ่อนถึงสีขาว มีจุดเหลืองที่โคนกลีบดอก ผล กลม เล็ก มีร่องตื้น เมื่อผลแห้งจะแตกตามร่อง

ต้นเซ่งใบมน
ต้นเซ่งใบมน ปลายแหม ขอบหยัก ดอกสีขาว

การขยายพันธุ์ของต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น

ใช้เมล็ด/นำเมล็ดมาว่านได้เลย

ธาตุอาหารหลักที่ต้นเซ่งใบมน ขี้อ้นต้องการ

ประโยชน์ของต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น

พบตามนาข้าว ที่รกร้างทั่วไป

สรรพคุณทางยาของต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น

เป็นสมุนไพร
ใบ ใช้พอกแผล แก้บวมหรือแก้ปวดบริเวณท้อง บางตำราว่า
ลำต้นและใบ ต้มในน้ำมันเป็นยาป้องกันพิษจากงูบางชนิด

คุณค่าทางโภชนาการของต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น

การแปรรูปของต้นเซ่งใบมน ขี้อ้น

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10578&SystemType=BEDhttps://www.flickr.com

Add a Comment