ถ่อน อีเม็ง ขี้มอด ไม้ต้นผลัดใบ เป็นพืชหายาก

ถ่อน อีเม็ง

ชื่ออื่นๆ : กระพี้หยวก กะปิ ถ่อน อีเม็ง

ต้นกำเนิด : ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของไทย ต่างประเทศพบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ขึ้นในป่าเบญจพรรณและชายป่าดิบแล้ง ระดับความสูง 60-500 เมตร

ชื่อสามัญ : ขี้มอด

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dalbergia lanceolaria L.f. var lakhonensis (Gagnep.) Hong Ho & Niyomd.

ชื่อวงศ์ : LEGUMINOSAE – PAPILIONOIDEAE

ลักษณะของถ่อน อีเม็ง

ไม้ต้นผลัดใบขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร ลำต้นแตกกิ่งต่ำ เรือนยอดเป็นพุ่ม โปร่ง ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงเวียนสลับ ใบย่อยเรียงสลับ รูปรี หรือรูปไข่ ปลายมนหรือเว้าหยักเล็กน้อย ดอกสีชมพูอมม่วง ออกเป็นช่อแตกแขนงตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผล เป็นฝักแบน สีเขียว รูปรี โคนและปลายสอบแหลม มีเมล็ดนูน 1-2 เมล็ด

สถานภาพ : พืชหายาก

ขี้มอด
ขี้มอด ใบประกอบแบบขนนก ดอกสีชมพูอมม่วง
ผลขี้มอด
ผลขี้มอด เป็นฝักแบน สีเขียว รูปรี

การขยายพันธุ์ของถ่อน อีเม็ง

ใช้เมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่ถ่อน อีเม็งต้องการ

ประโยชน์ของถ่อน อีเม็ง

สรรพคุณทางยาของถ่อน อีเม็ง

คุณค่าทางโภชนาการของถ่อน อีเม็ง

การแปรรูปของถ่อน อีเม็ง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11375&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment