ผักกาดมูเซอ รับประทานเป็นผักหรือนำไปต้ม ลวกรับประทานกับน้ำพริก

ผักกาดมูเซอ

ชื่ออื่นๆ : ผักกาดก้านขาว, ผักกาดยาง, ผักกาดคออ่อน, สำปะสี, หลำปะสี, ผักปลิว, ผักกาดหัวหงอก, หญ้าดอกฟุ้ง

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ :  Rape , Swedish Turnip

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Brassica napus Linn.

ชื่อวงศ์ : CRUCIFERAE

ลักษณะของผักกาดมูเซอ

ต้น พืชล้มลุกสูงประมาณ 3-5 ฟุต ลำต้นเป็นเหลี่ยมสีเขียวอ่อน

ใบ ใบสีเขียวเข้มพื้นใบหยาบ ผิวใบมีขนหลังใบขรุขระ ขอบใบเป็นหยัก ใบกว้างประมาณ 3-4 นิ้ว.

ดอก ดอกสีเหลือง มีก้านชูสูงขึ้นมา

ผักกาดมูเซอ
ผักกาดมูเซอ ลำต้นเป็นเหลี่ยมสีเขียว
ใบผักกาดมูเซอ
ใบผักกาดมูเซอ ใบสีเขียวเข้ม หลังใบขรุขระ ขอบใบเป็นหยัก

การขยายพันธุ์ของผักกาดมูเซอ

ใช้เมล็ด  ชอบขึ้นที่ป่าโปร่งหรือขึ้นเองตามธรรมชาติ มีแสงแดดพอเพียง

ธาตุอาหารหลักที่ผักกาดมูเซอต้องการ

ประโยชน์ของผักกาดมูเซอ

ยอดอ่อน ใบ ดอกอ่อน ลำต้นอ่อน รับประทานเป็นผักหรือนำไปต้ม ลวกรับประทานกับน้ำพริก หรือนำไปปรุงอาหาร เช่น แกงส้ม แกงกะทิ

ดอกผักกาดมูเซอ
ดอกผักกาดมูเซอ ดอกสีเหลือง

สรรพคุณทางยาของผักกาดมูเซอ

คุณค่าทางโภชนาการของผักกาดมูเซอ

การแปรรูปของผักกาดมูเซอ

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9924&SystemType=BEDO
http://area-based.lpru.ac.th
https://www.flickr.com

Add a Comment