ผักไผ่ต้น
ชื่ออื่นๆ : ขาวดง (เพชรบุรี) หว้าขี้นก (เลย)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ :
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pittosporum napaulense (DC.) Rehder & E. H. Wilson
ชื่อพ้อง : Pittosporum floribundum Wright & Arn
ชื่อวงศ์ : PITTOSPORACEAE
ลักษณะของผักไผ่ต้น
ต้น เป็นไม้ต้น ไม่ผลัดใบขนาดเล็ก กิ่งอ่อนมีขนสั้นสีขาวคลุมและมีกาบใบหุ้มตายอด เปลือกนอกหนาเรียบ สีอมน้ำตาล และมีช่องอากาศสีน้ำ ตาลเข้มหนาแน่น เปลือกในสีน้ำตาลอ่อน
ใบ ใบเดี่ยว รูปใบหอกกลับ ปลายแหลม โคนสอบแคบ ขอบเรียบหรือเป็นคลื่น แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวนวล ก้านใบสั้น เรียงเวียนเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง
ดอก ช่อดอกออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอมแรงคล้ายกลิ่นดอกราตรี
ผล ผลกลม มีติ่งขนาดเล็กที่ปลาย เมื่อแก่สีเหลืองแตกออกเป็น 2 เสี่ยง เมล็ดขนาดเล็กสีแดงมี 1-5 เมล็ด เนื้อ หุ้มเมล็ดเป็นเมือกสีแดงสด
การขยายพันธุ์ของผักไผ่ต้น
ธาตุอาหารหลักที่ผักไผ่ต้นต้องการ
ประโยชน์ของผักไผ่ต้น
- ผลสุกเป็นอาหารของนกหลายชนิด (อาหารสัตว์ป
- ดอกสีเหลืองมีกลิ่นหอมแรง ควรพัฒนาเป็นไม้ประดับ
- ใบเป็นอาหารของกระทิง
สรรพคุณทางยาของผักไผ่ต้น
คุณค่าทางโภชนาการของผักไผ่ต้น
การแปรรูปของผักไผ่ต้น
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.dnp.go.th
ภาพประกอบ : www.flickr.com
ผักไผ่ต้น เป็นไม้ต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็ก