ฝ้ายตุ่น ไม้พุ่ม ปลายใบแหลม ปรุงรับประทานเป็นยาขับโลหิตระดู

ฝ้ายตุ่น

ชื่ออื่นๆ :

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : White cotton

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gossypium herbaceum L.

ชื่อวงศ์ : MALVACEAE

ลักษณะของฝ้ายตุ่น

ไม้พุ่ม ลำต้น มีสีน้ำตาลแดงอาจเป็นเหลี่ยม ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3-5 หยัก ฐานใบเป็นรูปหัวใจ ก้านใบค่อนข้างยาว ดอก เดี่ยว มีใบประดับ 5 กลีบติดกัน กลีบดอกสีเหลือง ผล กลมปลายยาวแหลม เมล็ด รูปไข่ มีขนสีขาวยาว 3.7-5 เซนติเมตร รอบๆ
ส่วนที่ใช้ : เปลือกต้น ราก

ฝ้ายตุ่น
ฝ้ายตุ่น ไม้พุ่ม ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3-5 หยัก ฐานใบเป็นรูปหัวใจ

การขยายพันธุ์ของฝ้ายตุ่น

ใช้เมล็ด

ธาตุอาหารหลักที่ฝ้ายตุ่นต้องการ

ประโยชน์ของฝ้ายตุ่น

สรรพคุณทางยาของฝ้ายตุ่น

เปลือกต้น ราก – ปรุงรับประทานเป็นยาขับโลหิตระดู ทำให้มดลูกบีบตัวอย่างแรง อาจทำให้เกิดการแท้งบุตรได้ง่าย
รับประทานเป็นยาต้ม 1 ใน 5 หรือน้ำยาสกัดและทิงเจอร์ (1ใน 4) ครั้งละ 2-4 ซีซี

คุณค่าทางโภชนาการของฝ้ายตุ่น

การแปรรูปของฝ้ายตุ่น

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11665&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment