ระย่อมตีนเป็ด ไม้ต้นขนาดเล็กทุกส่วนมียางสีขาว เปลือกแก้ท้องร่วง

ระย่อมตีนเป็ด

ชื่ออื่นๆ :  ระย่อมตีนเป็ด(กรุงเทพฯ), ตีนเป็ดเล็ก(สุราษฎร์ธานี)

ต้นกำเนิด :  พบทางภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป

ชื่อสามัญ :

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rauvolfia sumatrana Jack

ชื่อวงศ์APOCYNACEAE

ลักษณะของระย่อมตีนเป็ด

ต้น  ไม้ต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ แตกกิ่งต่ำ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ทุกส่วนมียางสีขาว

ใบ  ใบเดี่ยว ออกเป็นวงรอบกิ่ง รูปรี แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบจำนวนมากเรียงขนานใกล้กัน

ดอก  ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อแตกแขนง ออกเป็นวงรอบกิ่ง

ผล  ผลกลมรี ออกเป็นคู่ติดกันที่ฐาน ผลสุกสีดำ แต่ละผลมี 1 เมล็ด

ต้นระย่อมตีนเป็ด
ต้นระย่อมตีนเป็ด ไม้ต้นขนาดเล็ก เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ทุกส่วนมียางสีขาว
ดอกระย่อมตีนเป็ด
ดอกระย่อมตีนเป็ด ดอกเล็ก สีขาว

การขยายพันธุ์ของระย่อมตีนเป็ด

ใช้เมล็ด, ตอนกิ่ง

ธาตุอาหารหลักที่ระย่อมตีนเป็ดต้องการ

ประโยชน์ของระย่อมตีนเป็ด

สรรพคุณทางยาของระย่อมตีนเป็ด

เปลือก แก้ท้องร่วง ป้องกันและรักษาโรคมาลาเรีย

ผลระย่อมตีนเป็ด
ผลระย่อมตีนเป็ด ผลกลมรี ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีดำ

คุณค่าทางโภชนาการของระย่อมตีนเป็ด

การแปรรูปของระย่อมตีนเป็ด

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11818&SystemType=BEDO
www.flickr.com

Add a Comment