ราชาวดีหลวง
ชื่ออื่นๆ : ราชาวดีหลวง
ต้นกำเนิด : ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ และ เชียงราย สำหรับสถานภาพในไทย ถือว่าเป็นพืชหายาก
ชื่อสามัญ : –
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Buddleja macrostachya Wall. ex Blume
ชื่อวงศ์ : Scrophuariaceae
ลักษณะของราชาวดีหลวง
ต้น ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ประมาณ 5 ม. กิ่งเป็นสี่เหลี่ยมหรือเป็นปีก มีขนกระจุกตามกิ่งอ่อน
ใบ แผ่นใบ กลีบเลี้ยงและหลอดกลีบดอกด้านนอก หลอดกลีบดอก รังไข่ และผล หูใบคล้ายใบ ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 4-45 ซม. ปลายใบแหลมยาว โคนใบรูปลิ่มหรือเรียวสอบจรดลำต้น ขอบใบจักมน เส้นแขนงใบข้างละ 15-25 เส้น ไร้ก้านหรือเกือบไร้ก้าน
ดอก ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 5-20 ซม. เรียงหนาแน่น เป็นกระจุก 1-3 ดอก กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 3-6 มม. กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอกสีชมพูอมม่วง เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปากหลอดกลีบสีส้ม หลอดกลีบรูปทรงกระบอกแคบ ๆ ยาว 0.8-1 ซม. มีขนยาวด้านใน กลีบเกือบกลม ยาว 2-4 มม.
การขยายพันธุ์ของราชาวดีหลวง
การเพาะเมล็ด, การปักชำ
ธาตุอาหารหลักที่ราชาวดีหลวงต้องการ
ลักษณะแวดล้อมที่เติบโตได้ดี ชอบดินร่วนระบายน้ำดี แดดจัด อากาศเย็น
ประโยชน์ของราชาวดีหลวง
เป็นไม้ดอกไม้ประดับ
สรรพคุณทางยาของราชาวดีหลวง
คุณค่าทางโภชนาการของราชาวดีหลวง
การแปรรูปของราชาวดีหลวง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9889&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com