สามสิบ
ชื่ออื่นๆ : จ๋วงเครือ (เหนือ) ผักชีช้าง (หนองคาย) ผักหนาม (นครราชสีมา) สามร้อยราก (กาญจนบุรี) สามสิบ ชีช้าง จั่นดิน ม้าสามต๋อน
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : รากสามสิบ Shatavari
ชื่อวิทยาศาสตร์ : ASPARAGUS RACEMOSUS WILLD
ชื่อวงศ์ : ASPARAGCEAE
ลักษณะของสามสิบ
เป็นไม้เถาเลื้อยขนาดเล็ก พาดพันต้นไม้อื่น ต้นหรือเถาสามารถเลื้อยได้ไกล 3-5 เมตร ลำต้นหรือเถาเป็นสี่เหลี่ยม เป็นข้อหรือปล้อง เถาหรือต้นไม่กลวง สีเขียวเข้ม แต่เมื่อต้นแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเห็นได้ชัดเจน มีหนามแหลมตามข้อหรือปล้อง ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเป็นกระจุก 3-4 ใบ ใบมีลักษณะเป็นเส้นสามเหลี่ยม ขนาดเล็ก และแข็ง เป็นฝอยๆ ปลายใบแหลม สีเขียวสด เวลาใบดกจะดูสวยงามมาก

การขยายพันธุ์ของสามสิบ
ใช้เมล็ด/
ธาตุอาหารหลักที่สามสิบต้องการ
ประโยชน์ของสามสิบ
คนภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต้ บ้านเราใช้รับประทานเป็นผักได้ โดยใช้ยอดอ่อน
ผลอ่อนรับประทานสด และยังนำามาต้มหรือ ทำแกงอ่อม
คนภาคเหนือ ใช้เป็นยาดอง ยาบำารุง สำาหรับเพศชาย เพราะกินแล้วทำให้เพิ่มสมรรถภาพ ที่เรียกว่า ม้าสามต๋อน
การรักษาโรคกระเพาะ โดยการให้รับประทานผงแห้งของราก พบว่าได้ผลดีในการรักษาแผลที่กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กที่กรดเกิน **เนื่องจากเป็นสมุนไพรที่ออกฤทธิ์คล้ายเ อสโตรเจน จึงห้ามใช้ในสตรีที่มีความเสี่ยงต่อการเป็น มะเร็ง
สรรพคุณทางยาของสามสิบ
ราก มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ หล่อลื่นและกระตุ้น มีรสเย็น หวานชุ่ม บำรุงเด็กในครรภ์ บำรุงตับปอดให้เกิดกำลังเป็นปกติ
วิธีใช้ นำรากมาต้ม เชื่อม หรือทำแช่อิ่ม รับประทานเป็นอาหาร กรอบดีมาก
คุณค่าทางโภชนาการของสามสิบ
การแปรรูปของสามสิบ
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9794&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com