สิงโตถิ่นใต้ กล้วยไม้ที่เกาะต้นไม้อื่นหากิน

สิงโตถิ่นใต้

ชื่ออื่นๆ : สิงโตถิ่นใต้  สิงถิ่นใต้

ต้นกำเนิด : ส่วนใหญ่จะพบมากที่ภาคใต้ของประเทศไทย

ชื่อสามัญ : สิงโตถิ่นใต้

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bulbophyllum siamense Rchb. f.

ชื่อวงศ์ : Epidendroideae

ลักษณะของสิงโตถิ่นใต้

ลักษณะ เป็นกล้วยไม้ประเภทอิงอาศัยลำต้น ถ้าจะพูดให้เข้าใจกันง่ายๆ ก็คือ เป็นกล้วยไม้ที่เกาะต้นไม้อื่นหากินนั้นเอง เมื่อก่อนเราจะพบเห็นได้ก็เมือเขาป่าเท่านั้น มันจะเกาะอยู่บนลำต้นของต้นไม้ใหญ่ ใบ ของเขา จะเป็นใบมนแล้วเว้า ในหนึ่งใบจะมีสีเขียวอมม่วง ขนาดของใบกว้างประมาณ 3 – 4 เซนติเมตร และส่วน ดอก ของกล้วยไม้ สิงถิ่นใต้ นั้น เขาจะออกดอกเป็นช่อแบบรวมกัน ในหนึ่งช่อก็จะมีดอกอยู่ประมาณ 6 – 9 ดอก แล้วแต่ละดอกก็จะอยู่ที่ปลายสุดของก้านดอก ซึ่งก้านดอกก็มีความยาวประมาณ 8 – 10 เซนติเมตร สีของดอกจะเป็นสีเหลือง และมีกลิ่นหอม กล้วยไม้ สิงโตถิ่นใต้นี้ ก็ตามชื่อนะ เพราะส่วนใหญ่จะพบมากที่ภาคใต้ของเรา กล้วยไม้ชนิดนี้ จะออกดอกมาให้ทุกคนได้ชมกันก็ประมาณ เดือนกันยายน ถึง ประมาณปลายๆ เดือนตุลาคม อาจจะเป็นช่วงเวลาที่สั้นไปหน่อย เพราะดอกเขามีขนาดเล็ก และดอกก็สามารถบานได้เพียงแค่ 2 – 3 วัน เท่านั้น

สิ่งโตถิ่นใต้
สิ่งโตถิ่นใต้ ดอกจะเป็นสีเหลือง ออกปลายสุดของก้าน

การขยายพันธุ์ของสิงโตถิ่นใต้

ใช้ส่วนอื่นๆ/ขยายพันธุ์กล้วยไม้ โดยวิธีตัดแยก · การขยายพันธุ์กล้วยไม้ โดยการเพาะเนื้อเยื่อ

ธาตุอาหารหลักที่สิงโตถิ่นใต้ต้องการ

ประโยชน์ของสิงโตถิ่นใต้

เป็นไม้ดอกไม้ประดับ

สรรพคุณทางยาของสิงโตถิ่นใต้

คุณค่าทางโภชนาการของสิงโตถิ่นใต้

การแปรรูปของสิงโตถิ่นใต้

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11316&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment