หญ้าดอกฟุ้ง ยอดอ่อน ใบ ดอกอ่อนกินสด ผัด ลวกจิ้มน้ำพริก หรือแกงส้ม

หญ้าดอกฟุ้ง

ชื่ออื่นๆ : หญ้าดอกฟุ้ง ผักกกาดหัวปลิว แจ็กแพ่งเจ็กเผ้ง

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : –

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Crassocephalum crepidioides (Benth) S.Moore -Erechtites valerianaefolia

ชื่อวงศ์ : COMPOSITAE

ลักษณะของหญ้าดอกฟุ้ง

ลำต้น เป็นพืชล้มลุก สูงประมาณ 3-5 ฟุต ลำต้นเป็นเหลี่ยม สีเขียวอ่อนลักษณะใบใบกว้างประมาณ 3-5 นิ้ว ขอบใบเป็นหยัก ผิวใบมีขน หลังใบขรุขระ ดอกอ่อนมีสีแดงเรื่อๆ ดอกเมื่อบานเหมือนปุยนุ่น เกสรสีแดงอ่อนและเมื่อดอกแก่จะปลิวตามลม เมื่อไปตกตรงไหนก็จะเจริญเติบโตขยายพันธุ์ต่อไป ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร ยอดอ่อน ใบ ดอกอ่อนกินสด ผัด ลวกจิ้มน้ำพริก หรือแกงส้ม (ลำต้นอ่อน) หรือใช้ยอด ใบ ดอง (เหมือนผักกาด)รสชาติรสเย็น มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ดอกแก่ และต้นอ่อน ชอบที่ป่าโปร่ง มีแสงแดดเพียงพอ

หญ้าดอกฟุ้ง
หญ้าดอกฟุ้ง ดอกอ่อนมีสีแดง เมื่อบานเหมือนปุยนุ่น

การขยายพันธุ์ของหญ้าดอกฟุ้ง

ใช้เมล็ด ดอกแก่ และต้นอ่อน

ธาตุอาหารหลักที่หญ้าดอกฟุ้งต้องการ

ประโยชน์ของหญ้าดอกฟุ้ง

ยอดอ่อน ใบ ดอกอ่อนกินสด ผัด ลวกจิ้มน้ำพริก หรือแกงส้ม (ลำต้นอ่อน) หรือใช้ยอด ใบ ดอง (เหมือนผักกาด)

สรรพคุณทางสมุนไพร
กินสด ๆ หรือปรุงเป็นอาหาร บำรุงหัวใจ บำรุงโลหิต แก้สวิงสวาย แก้ซาง

สรรพคุณทางยาของหญ้าดอกฟุ้ง

คุณค่าทางโภชนาการของหญ้าดอกฟุ้ง

การแปรรูปของหญ้าดอกฟุ้ง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11247&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment