หญ้าหางนกยูง
ชื่ออื่นๆ :
ต้นกำเนิด : พบขึ้นทั่วไปในสภาพพื้นที่ค่อนข้างแห้งแล้ง ป่าผลัดใบ ป่าพลวง เต็ง รัง ดินทราย ดินทรายปนลูกรัง ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล
ชื่อสามัญ : หญ้าหางนกยูงขนยาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eremochloa ciliatifolia Hack.
ชื่อวงศ์ : –
ลักษณะของหญ้าหางนกยูง
เป็นพืชอายุหลายปี แตกกอขนาดเล็กค่อนข้างตั้ง ต้นสูง 45-60 เซนติเมตร เป็นกอไม่ค่อยใหญ่มากนัก
ใบ เป็นแบบรูปใบแคบ ใบของหญ้าก็ไม่ค่อยยาวและปลายยอดของหญ้ามีปลายแหม ขอบใบขนานเกือบถึงปลายใบ ปลายใบทู่และมีขนาดใบใหญ่กว่าหญ้าหางนกยูงขนสั้น ใบเรียบ ขอบใบมีหยักแบบขนครุย ใบ กาบใบไม่มีขนลักษณะกาบใบบีบตัวแบนเป็นสัน ช่อดอกออกที่ปลายยอดแบบช่อเชิงลดกลายๆ ก้านดอกชัดเจนโดยปลายก้านขยายใหญ่กว่าส่วนโคน
กาบดอก(glume) แข็งหนาเป็นเงาวาว ขอบกาบดอกมีขนหนามแข็ง ดอกย่อย รูปรีถึงรูปขอบขนาน สีม่วงอมแดงและฐานดอก รูปป้านมน อับเรณู สีเหลืองถึงเหลืองแกมม่วงแดง หญ้าเกิดขึ้นเป็นบริเวณทั่วไป
การขยายพันธุ์ของหญ้าหางนกยูง
ใช้ส่วนอื่นๆ
ธาตุอาหารหลักที่หญ้าหางนกยูงต้องการ
ประโยชน์ของหญ้าหางนกยูง
เป็นแหล่งอาหารสัตว์ตามธรรมชาติสำหรับแทะเล็มของโค กระบือ
สรรพคุณทางยาของหญ้าหางนกยูง
คุณค่าทางโภชนาการของหญ้าหางนกยูง
การแปรรูปของหญ้าหางนกยูง
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10813&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com/