หมากลิ้นไม้ ดอกใบอ่อน ฝักนำมารับประทานและเป็นยาสมุนไพร

หมากลิ้นไม้

ชื่ออื่นๆ : ลิ้นฟ้า(เลย) ลิ้นก้าง ลิ้นช้าง(ไทยใหญ่) เพกา (ภาคกลาง) มะลิดไม้ มะลิ้นไม้ ลิดไม้ (ภาคเหนือ) หมากลิ้นก้าง หมากลิ้นซ้าง (ฉาน ภาคเหนือ) กาโด้โด้ง (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ด๊อกก๊ะ ดอก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เบโก (มาเลย์ นราธิวาส)

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : เพกา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oroxylum indicum(L)kurz

ชื่อวงศ์ : BIGNONIACEAE

ลักษณะของหมากลิ้นไม้

ไม้ต้นขนาดเล็กสูง5-15เมตรผลัดใบแตกกิ่งก้านน้อยใบประกอบแบบขนนกปลายใบคี่เรียงตรงข้าม ดอกช่อ มีดอกย่อย20-35ดอกดอกสีม่วงคล้ำผลเป็นฝักแบนยาวผลแห้งแตกเมล็ดแบนมีปีกใสบางจำนวนมากในแต่ละฝัก

หมากลิ้นไม้
ฝักเป็นรูปดาบ ฝักสีน้ำตาลเข้ม สีแดง

การขยายพันธุ์ของหมากลิ้นไม้

ใช้เมล็ด/-

ธาตุอาหารหลักที่หมากลิ้นไม้ต้องการ

ประโยชน์ของหมากลิ้นไม้

มีรสขม คนอีสานนิยมกินกับลาบก้อย ก่อนกินนิยมเผาหรือย่างไฟก่อนให้มีกลิ่นหอมแล้วหั่นเป็นท่อนๆ

สรรพคุณทางยาของหมากลิ้นไม้

ดอกใบอ่อน ฝักนำมารับประทานได้ เป็นยาสมุนไพรรากและเปลือกแก้ฝี(จากการสัมภาษณ์และการจัดประชุมเสวนาผู้รู้ในท้องถิ่น)

คุณค่าทางโภชนาการของหมากลิ้นไม้

การแปรรูปของหมากลิ้นไม้

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=9320&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment