หวายขี้เหร่
ชื่ออื่นๆ : หวายขี้เหร่(ตรัง)
ต้นกำเนิด :
ชื่อสามัญ : –
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Calamus densiflorus
ชื่อวงศ์ : Arecaceae
ลักษณะของหวายขี้เหร่
เป็นหวายกอขนาดกลาง มีมือเกาะ ขึ้นเป็นลำเดี่ยว ๆ กาบหุ้มลำเมื่อแห้งมีสีน้ำตาลออกเหลือง มีหนามรูปสามเหลี่ยมฐานโค้ง ปลายหนามสีดำกระจายอย่างสม่ำเสมอ และมีหนามขนาดเล็กกวาลักษณะเดียวกัน กระจายแทรกระหว่างหนามขนาดใหญ่ หนามเรียงตัวเดี่ยว ๆ มี knee เห็นชัดมีหนามขึ้นกระจายทั่วไปเหมือนที่กาบหุ้มลำ ocrea เป็นแผ่นสีน้ำตาล ก้านใบไม่มีหรือสั้นมาก มีหนามตรงปลายสีดำ กระจายทั่วไปทั้งด้านบนและด้านล่าง และมีหนามขนาดเล็กปนอยู่ ทางใบมีหนามกระจายทั่วไป ขนาดและลักษณะเหมือนที่ก้านใบ ใบย่อยรูปยาวเรียวมีสีเขียว ขอบมีหนามรูปขนยาว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีหนามรูปขนบนเส้นใบ หนามมีสีดำ ใบย่อยแต่ละข้างของทางเรียงตัวแบบสลับ เยื้องหรือตรงข้ามกันอย่างสม่ำเสมอ
การขยายพันธุ์ของหวายขี้เหร่
ใช้เมล็ด
ธาตุอาหารหลักที่หวายขี้เหร่ต้องการ
ประโยชน์ของหวายขี้เหร่
เป็นหวายหายากมากขึ้น ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์และจักสานตะกร้า
สรรพคุณทางยาของหวายขี้เหร่
คุณค่าทางโภชนาการของหวายขี้เหร่
การแปรรูปของหวายขี้เหร่
แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10785&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com