เข็มป่า ปลูกตกแต่งเป็นพุ่มสวยงาม

เข็มป่า

ชื่ออื่นๆ : เข็มดอย เข็มพม่า เข็มตาไก่ เข็มโพดสะมา

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : เข็มป่า

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pavetta indica L.

ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE

ลักษณะของเข็มป่า

ต้น : เป็นพุ่มขนาดกลาง ลำต้นนั้นใหญ่ประมาณเท่าข้อมือ ลำต้นมีความสูงประมาณ 3-4 เมตร
ใบ : ใบนั้นจะมีสีเขียวสด เป็นรูปไข่ยาวๆ ริมขอบใบเรียบ ใบนั้นจะยาวประมาณ 6-18 ซม. และ กว้างประมาณ 2.5 ซม.
ดอก : ดอกเข็มจะออกตลอดปี และออกดอกเล็ก ๆ เป็นพวงเหมือนดอกเข็มธรรดา แต่จะมีดอกเป็น สีขาว
ผล : ผลนั้นจะมีลักษณะเป็นผลกลม ๆ และมีสีเขียว

เข็มป่า
ไม้พุ่ม ดอกสีขาว

การขยายพันธุ์ของเข็มป่า

ใช้เมล็ด/การขยายพันธุ์ : โดยการใช้เมล็ด และตอนกิ่ง

ธาตุอาหารหลักที่เข็มป่าต้องการ

ประโยชน์ของเข็มป่า

เป็นพรรณไม้ชอบขึ้นตามธรรมชาติในป่าทั่วๆ ไปในประเทศไทย มักจะ นำมาปลูกกันตาม วัดวาอารามแล้วตัวแต่งให้เป็นพุ่มให้สวยงาม

สรรพคุณทางยาของเข็มป่า

ส่วนที่ใช้ : ดอก ใบ ผล เปลือก และราก ใช้ทำเป็นยา
สรรพคุณ : ดอก ใช้รักษาโรคตาเปียก ตากแดง ตาแฉะ
ใบ ใช้เป็นยาฆ่าพยาธิทั้งปวง
ผล ใช้เป็นยารักษาโรคริดสีดวงจมูก
เปลือก ใช้ตำแล้วคั้นเอาน้ำหยอดหูใช้ฆ่าแมงคาเรืองเข้าหู
ราก ใช้ทำเป็นยารักษาเสมหะในท้อง หรือในทรวงอก

คุณค่าทางโภชนาการของเข็มป่า

การแปรรูปของเข็มป่า

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=12092&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment