เซ่งใบยาว บานเที่ยง พืชล้มลุก ลำต้นตั้งตรง ดอกสีแดงเข้ม

เซ่งใบยาว บานเที่ยง

ชื่ออื่นๆ : เซ่งใบยาว หรือ บานเที่ยง

ต้นกำเนิด :

ชื่อสามัญ : –

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pentapetes phoenicea L.

ชื่อวงศ์ : STERCULIACEAE

ลักษณะของเซ่งใบยาว บานเที่ยง

ลักษณะทั่วไป : เป็นพืชล้มลุกอายุปีเดียว ชอบขึ้นในที่น้ำท่วมขัง พบมากในนาหว่าน ลำต้นตั้งตรง สูงถึง 1.5 เมตร แตกกิ่งก้านมาก ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับกัน ใบมีลักษณะเรียวยาวปลายแหลม ขอบใบจักหยาบด้านหลังใบเป็นขน ก้านใบสั้น ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกโคนใบ มีกลีบดอก 5 กลีบ สีแดงเข้ม ลักษณะผลคล้ายผลกระเจี๊ยบ แต่มีขนาดเล็กกว่า มีขนเห็นได้ชัด เมล็ดมีรูปร่างค่อนข้างกลมเป็นเหลี่ยม สีน้ำตาลเข้ม พบมากตามทุ่งนา

เซ่งใบยาว
เซ่งใบยาว ลำต้นตั้งตรง ใบเรียวยาวปลายแหลม ดอกสีแดงเข้ม

การขยายพันธุ์ของเซ่งใบยาว บานเที่ยง

ใช้เมล็ด/-

ธาตุอาหารหลักที่เซ่งใบยาว บานเที่ยงต้องการ

ประโยชน์ของเซ่งใบยาว บานเที่ยง

เมล็ด เป็นอาหารสัตว์

สรรพคุณทางยาของเซ่งใบยาว บานเที่ยง

ดอกไม้ป่า อยู่กลางทุ่ง แม้เจ้าจะเป็นวัชพืช แต่ก็มีดอกสวยงาม มิได้เป็นพิษเป็นภัยกับผู้ใด เวลาเดินๆ ไปเที่ยวอย่าไปเหยียบมันเข้านะครับ เก็บไว้ดูดอกสีแดงสดของมันเถอะ

คุณค่าทางโภชนาการของเซ่งใบยาว บานเที่ยง

การแปรรูปของเซ่งใบยาว บานเที่ยง

แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11273&SystemType=BEDO
https://www.flickr.com

Add a Comment